รับทำวิจัย รับจ้างทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับวิเคราะห์ข้อมูล spss eview stata amos lisrel
รับทำวิจัยด่วน รับทำวิทยานิพนธ์ รับวิเคราะห์ข้อมูลทุกโปรแกรม SPSS STATA EVIEW LISREL
ทีมวิจัยที่พร้อมที่สุด รับทำวิทยานิพนธ์ วิเคราะห์ข้อมูล ทั้งโปรแกรม สถิติ และ โปรแกรม ที่มุ่งเน้นเศรษฐมิติ การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลอนุกรมเวลา ข้อมูล ปัจัยเศรษฐกิจมหภาค ตลาดหลักทรัพย์ ตลาดเงิน ตลาดทุน ตราสารทางการเงิน ตราสารหนี้ พันธบัตร หลักทรัพย์ อัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ความผันผวน การส่งผ่านความผันผวน การวิเคราะห์การถดถอย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว การปรับตัวระยะสั้น
รับทำวิทยานิพนธ์ทีมวิจัยมืออาชีพ รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับวิเคราะห์ข้อมูล รับทำดุษฎีนิพนธ์ แบบที่ปรึกษาวิจัย รับวิเคราะห์ข้อมูล spss eview stata amos lisrel
รับทำวิจัยด่วน รับจ้างทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ ด่วน ดุษฎีนิพนธ์ ตั้งแต่กำหนดหัวข้อจนถึงสอบปิดเล่ม จัดทำบทความ และตีพิมพ์
PROFESSIONALDATAS พร้อมด้วยทีมบุคลากรหลายท่าน ครอบคลุมงานวิจัยสังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์ พร้อมช่วยเหลือ แนะนำ ให้คำปรึกษาทุกขั้นตอนของกระบวนการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์
บริการคิดหาหัวข้อวิจัย หรือ ชื่อเรื่องวิจัย ที่ทันสมัย ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งในด้านหลักการวิชาการและ ความเหมาะสมกับยุคสมัย การสืบค้นข้อมูล แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล การเขียนผลการศึกษา จนถึงการสอบปิดเล่ม และตีพิมพ์บทความต่างประเทศ และในประเทศ
บริการตรวจสอบเนื้อหา โครงสร้างของงานวิจัย ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ การศึกษาอิสระ Independent Study (IS) งานวิจัยต่าง ๆ ตลอดถึงการให้คำปรึกษาในการปรับปรุงและแก้ไข งานวิจัย ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ที่มีปัญหาให้สำเร็จทันเวลา ทางบริษัท ยังมีบริการสืบค้นข้อมูลจาก ตำรา เว็บไซต์ ฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ Research Academic Business Journals
บริการช่วยเรียบเรียงเนื้อหาทุกบทของดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์และการศึกษาอิสระ ตลอดจน บริการทำ Presentation ที่กระชับ สวยงาม ถูกต้องตามหลักการนำเสนอ ผลงานวิชาการ เพื่อนำเสนอดุษฏีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์และผลงานวิจัยต่างๆ
Tags : รับทำวิจัยการเงิน รับทำวิจัยบัญชี รับทำวิจัยการจัดการ รับปรึกษางานวิจัย รับติวงานวิจัย รับสอนงานวิจัย รับทำวิจัย รับทำงานวิจัย รับทำสารนิพนธ์ รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับจ้างทําวิจัย รับจ้างทำสารนิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำ thesis รับทำสารนิพนธ์ราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ราคาถูก รับทำดุษฎีนิพนธ์ราคาถูก รับทำวิจัย ป.โท รับทำวิจัย ป.เอก รับทำวิจัย ราคา
รับทำวิจัยth รับทำสารนิพนธ์th รับทำวิทยานิพนธ์th รับทำดุษฎีนิพนธ์th การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำสารนิพนธ์ จ้างทำวิทยานิพนธ์ รับทำวิจัยรัฐศาสตร์ รัฐศาสตร์การเมือง รัฐศาสตร์การปกครอง รัฐศาสตร์การทูต รัฐศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การจัดการภาครัฐและเอกชน
จ้างทำงานวิจัย จ้างทำวิจัยราคา จ้างทำวิจัยราคาประหยัด จ้างทำวิจัยราคาเท่าไหร่ ทำวิจัย ทำสารนิพนธ์ ทำวิทยานิพนธ์ ทำดุษฎีนิพนธ์ ทำปริญญานิพนธ์ ทำผลงาน ทำผลงานปรับระดับ ทำผลงานปรับตำแหน่ง การทำผลงานเลื่อนวิทยฐานะ
ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์ การทำดุษฎีนิพนธ์ระดับปริญญาเอกหรือดุษฎี มีประเด็น ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์ ที่ควรให้ความสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ หลักเกณฑ์การทำดุษฎีนิพนธ์ มีความถูกต้อง การทำดุษฎีนิพนธ์ต้องมีความถูกต้องและเที่ยงตรง มีความน่าเชื่อถือในทุกๆคำพูด และทุกๆข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในเล่มดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งในทีนี้หากไม่ใช่คำพูดหรือตัวเลขที่ผู้ทำดุษฎีนิพนธ์จัดทำขึ้นหรือเรียบเรียงขึ้นเอง ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาให้ถูกต้องและชัดเจน มีเหตุผลที่หนักแน่นเพียงพอ การเขียนดุษฎีนิพนธ์ต้องอาศัยตรรกะ หรือ การเชื่อมโยงเหตุและผลให้ชัดเจนน่าเชื่อถือ ตรวจสอบย้อนหลังได้ มีความชัดเจน ไม่คลุมเครือ มีความครบถ้วนและสมบูรณ์ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ มีความกะทัดรัด การเขียนให้สั้นแต่ได้ใจความ มีเนื้อหาสาระที่ความครอบคลุมสาระสำคัญ มีความคงเส้นคงวา (Consistency) กล่าวคือ การเขียนดุษฎีนิพนธ์ควรเลือกใช้คำหรือลักษณะของภาษาที่คงเส้นคงวา มีความเชื่อมโยงและความสอดคล้องกันของเนื้อหาในแต่ละย่อหน้าหรือแต่ละบทของการเขียนดุษฎีนิพนธ์ เป็นการเรียบเรียงเนื้อหาที่มีความสอดคล้องเชื่อมโยงเป็นเหตุเป็นผลต่อเนื่องกัน ปัญหาของการทำดุษฎีนิพนธ์ สำหรับปัญหาในการทำดุษฎีนิพนธ์มีสาเหตุสำคัญดังนี้ เวลา เวลาที่ใช้ในการศึกษามีน้อยไม่เพียงพอต่อการศึกษาค้นคว้า นำมาซึ่งความล้มเหลวในการทำดุษฎีนิพนธ์ รวมถึงการจัดการเวลาด้วย ภาระงานประจำที่มีมาก งานในหน้าที่ก็ยังต้องปฏิบัติอย่างเต็มที่ ส่งผลต่อเวลาในการศึกษา และดำเนินการทำดุษฎีนิพนธ์ การเลือกหัวข้อ เลือกหัวข้อที่ไม่มีความถนัด จะส่งผลต่อความตั้งใจและความพยายามที่จะทำให้สำเร็จ “ดีวิธีวิจัยไม่แดก” เมื่อไม่มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการวิจัยในแบบต่าง ๆ ก็ไม่สามารถนำวิธีการเหล่านั้นไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ ขาดทฤษฎี ปรัชญา ฐานความคิด หลักการ ถ้าไม่ศึกษาค้นคว้า …
ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์ Read More »
เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค วิธีการ เครื่องมือ เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลเพื่องานวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิชาการต่างๆ เทคนิควิธีและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล ถือได้ว่าเป็นกระบวนการหรือขั้นตอนที่สำคัญอย่างมาก ต่อคุณภาพและความสำเร็จของการวิจัย รวมไปถึงการพัฒนาหลักสูตรและการทำผลงานวิชาการทุกประเภท เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล และคุณภาพของข้อมูลสามารถสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพของการวิจัยนั้นๆด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ นักวิจัย ควรตระหนักและให้ความสำคัญกับ และศึกษาทำความเข้าใจ กับรูปแบบหรือเทคนิควิธีและขั้นตอนต่าง ๆ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นอย่างมากเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ เทคนิควิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ช่วยให้นักวิจัย/นักศึกษาสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการวิจัย/พัฒนาหลักสูตรได้อย่างเป็นระบบ การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้เราสามารถได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับสิ่งที่เรากำลังศึกษา ซึ่งอาจจะเป็นคน วัตถุ ปรากฏการณ์ หรือสภาพที่เรากำลังศึกษา ในการวิจัย/พัฒนาหลักสูตร หากข้อมูลถูกเก็บรวบรวมมาได้ด้วยวิธีการที่ไม่มีระบบ ระเบียบ หรือแบบแผนที่ดี ก็จะเป็นการยากที่นักวิจัย/นักศึกษาจะสามารถนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์เพื่อการวิจัย/พัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองต่อสภาพปัญหาและความต้องการ เทคนิควิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ เทคนิคที่สำคัญ และนิยมใช้มีจำนวนมาก แต่มีเทคนิคที่สำคัญและมีประสิทธิภาพมากที่สุด 6 วิธี ดังต่อไปนี้ 1. การใช้ข้อมูลเดิมที่มีอยู่แล้ว หรือ อาจเรียกว่าเป็นข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ในสถานการณ์ทำงานทั่วไป เราสามารถพบได้ว่า มีข้อมูลเดิมมากมายที่เราสามารถนำมาใช้ศึกษาวิเคราะห์ได้โดยไม่จำเป็นต้องออกสำรวจหรือเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ …
เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล Read More »
เทคนิคการเก็บแบบสอบถาม แนวคิด เทคนิค วิธีการ เทคนิคการเก็บแบบสอบถาม ให้ประสบความสำเร็จ ทันเวลา มีประสิทธิภาพ เทคนิคดั้งเดิมของการเก็บแบสอบถาม ที่เป็นที่นิยมใช้กันมานานนับศตวรรษ คือการออกภาคสนาม พูดง่ายๆคือ ส่งคนลงเก็บตามจุดหรือพื้นที่ที่เป็นที่ชุมนุมของกลุ่มตัวอย่าง (Sample) จำนวนมาก เช่น สถานที่ทำงาน โรงพยาบาล สวนสาธารณะ ห้างสรรพสินค้า สนามบิน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งได้ส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อภาคเศรษฐกิจ สังคม และการรูปแบบหรือวิถีชีวิตของประชาชนและผู้บริโภคไปอย่างมาก รวมถึงการทำวิจัย และการเก็บข้อมูล การเก็บแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ด้วยเช่นกัน ดังนั้น บทความนี้ จะขอนำเสนอเทคนิคการเก็บข้อมูล เทคนิคการเก็บแบบสอบถาม สำหรับการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ รวมไปถึงดุษฎีนิพนธ์ และงานวิชาการต่างๆ ซึ่งเป็นเทคนิคการทำงานด้านการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ที่สอดคล้องกับ New Normal คือ การเก็บข้อมูลแบบ “Social Distancing” 1) แบบสอบถามออนไลน์ “แบบสอบถาม” …
เทคนิคการเก็บแบบสอบถาม Read More »
รับตีพิมพ์บทความวิจัย บทความวิชาการ ปรึกษาการตีพิมพ์บทความ รับตีพิมพ์บทความวิจัย บทความวิชาการ ตีพิมพ์บทความวิจัย วารสารวิชาการต่างประเทศ SCOPUS ISI และวารสารวิชาการในประเทศ TCI รับตีพิมพ์บทความวิจัย ปรึกษาการตีพิมพ์วารสารวิชาการ บทความวิจัย (Research article) คือ รายงานผลการวิจัย ผลการศึกษา การค้นคว้า หรือ การพัฒนาอย่างเป็นระบบ บทความวิจัย เป็นบทความ หรืองานเขียนที่มีการเรียบเรียงหรือนำเสนอข้อมูล ที่ได้จากรายงานการวิจัย แล้วนำมาประมวล หรือสรุปออกมาเป็นองค์ความรู้ในรูปแบบที่นำเสนอให้ผู้อ่านเข้าใจประเด็นต่าง ๆ เช่น ปัญหาวิจัย วิธีการที่นักวิจัยดําเนินการวิจัย สิ่งที่ค้นพบและความหมายของข้อค้นพบ โดยการเผยแพร่อาจนำเสนอในที่ประชุมทางวิชาการในรูปแบบการบรรยาย (oral) หรือรูปแบบโปสเตอร์ (poster) บทความวิชาการ (Academic articles) คือ งานเขียนซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ เป็นความรู้ใหม่ กล่าวถึงความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ แนวทางการแก้ปัญหา มีการใช้แนวคิดทฤษฎี ผลงานวิจัยจากแหล่งข้อมูล แหล่งสำหรับเผยแพร่บทความวิจัย หรือ บทความวิชาการ ได้แก่ การประชุมวิชาการระดับชาติ (national conference) …
รับตีพิมพ์บทความวิจัย บทความวิชาการ Read More »
วิจัยการจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) แนวคิดพื้นฐาน นิยามและความหมายน เทคนิค วิธีการ วิจัยการจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) วิจัยการจัดการโซ่อุปทาน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM) เป็นกระบวนการในการดูแลและควบคุมกระบวนการขับเคลื่อนของสินค้าจากการผลิตและบริการให้กับลูกค้า เป้าหมายของการจัดการห่วงโซ่อุปทานคือการปรับปรุงประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทานเพื่อช่วยในการลดต้นทุน การจัดการกระบวนการทั้งหมดนี้รวมถึง: การจัดหาวัตถุดิบ ซึ่งจะรวมถึงแหล่งที่มาของสินค้าและบริการ, ข้อตกลงที่จัดขึ้นกับผู้ผลิต, ระยะเวลาและกระบวนการของการขนส่งวัสดุไปยังคลังสินค้าศูนย์การหรือแหล่งกระจายสินค้าของเว็บไซต์ที่ทำการขายสินค้า ขนาดและตำแหน่งที่ตั้งของแหล่งผลิตและคลังสินค้า ข้อควรพิจารณาที่สำคัญคือปริมาณของสินค้าที่ขายผ่านเว็บไซต์ที่สามารถคำนวณระยะทางจากเว็บไซต์อื่น ๆ ที่สำคัญคือทำให้ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสูงขึ้นและการขนส่งสินค้าจากผู้ผลิตที่ทำการย้ายไปยังคลังสินค้าของเว็บไซต์ที่ในขั้นตอนต่อไปของห่วงโซ่อุปทาน ข้อตกลงหุ้นส่วน การจัดการห่วงโซ่อุปทานจะต้องมั่นใจว่าข้อตกลงทั้งหมดที่มีร่วมกันของผู้ผลิต ผู้ขายและผู้ส่ง จัดทำขึ้นเพื่อช่วยแก้ไขด้านความล่าช้า เพิ่มประสิทธิภาพและให้คุ้มค่ากับเงิน การขนส่ง …
วิจัยการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) Read More »
รับวิเคราะห์ข้อมูลSTATA รับวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม STATA รับจ้างทำSTATA รับวิเคราะห์ข้อมูลSTATA รับวิเคราะห์ STATA PROFESSIONALDATAS สามารถข้อมูลด้วยโปรแกรมเหล่านี้ ทั้ง EVIEW และ STATA ตามความเหมาะสม และความต้องการของนักวิจัย รับวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมSTATA รับวิเคราะห์STATA รับแปลผลSTATA รับ รัน STATA รับวิเคราะห์ข้อมูลSTATA ทั้งการวิเคราะห์ระดับพื้นฐาน ไปจนถึงการวิเคราะห์ด้วยเศรษฐมิติและแบบจำลองขั้นสูง เช่น ARCH ARIMA GARCH GARCH(1,1) EGARCH MGARCH TGARCT Cointegration และ Error Correction Model (ECM) เป็นต้น วิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) และ การวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ เพื่อการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร หรือ การทดสอบสมมติฐาน ตั้งแต่ แบบจำลองพื้นฐาน จนถึง แบบจำลองระดับสูง ที่มีความยุ่งยาก …
รับวิเคราะห์ข้อมูลSTATA Read More »
การทำสารนิพนธ์ โดยทั่วไป การทำสารนิพนธ์ หรือ การทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) คือ การศึกษาวิจัยอิสระโดยการค้นคว้าทำความเข้าใจกับความรู้นั้น ๆ แบบไม่จำกัดรูปแบบของการศึกษา กลั่นกรองความรู้เนื้อหาสาระที่มีผู้ศึกษาวิจัยไว้แล้ว นำมาสรุปใหม่ให้อยู่ในหัวข้อเรื่องเดียวกัน แต่มีเนื้อหาต่างกัน และ ศึกษาได้ง่ายกว่า ส่วนประกอบสำคัญ การทำสารนิพนธ์ สารนิพนธ์อาจแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบเนื้อ เรื่องและส่วนประกอบตอนท้าย ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เรียงลำดับตั้งแต่ปกไปจนถึงส่วนเนื้อเรื่อง โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ปกหรือปกนอก (Cover) นิสิตเป็นผู้เย็บเล่มและทำปกให้หลังจากที่สารนิพนธ์ ได้รับการประเมินจากอาจารย์นิเทศก์แล้วโดยให้ใส่ปกอ่อนด้วยวิธีไสสันทากาวบนแผ่นปกพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ดังนี้ ชื่อสารนิพนธ์(หากยาวกว่าหนึ่ง บรรทัด พิมพ์ให้เป็นรูปสามเหลี่ยมหัวกลับ) ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้าไม่ต้องมีค าน าหน้าชื่อ ยกเว้นกรณีมีบรรดาศักดิ์ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ราชทินนาม และไม่มีวุฒิทางการศึกษาใด ๆ ต่อท้าย ระบุว่าสารนิพนธ์/ นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร…..สาขาวิชา….. ชื่อสถาบัน เดือน ปี ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าเสนอสารนิพนธ์ 2. …
การทำสารนิพนธ์ Read More »
การทำวิทยานิพนธ์ด้านการตลาด 1. แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค วิธีการ แนวทาง การทำวิทยานิพนธ์ด้านการตลาด การทำวิทยานิพนธ์ด้านการตลาด วิจัยปริญญาโท สาขาการตลาด เป็นกระบวนการทำงานวิจัย ที่มีขั้นตอน และองค์ประกอบสำคัญ เช่นเดียวกันกับการทำวิจัยสายสังคมศาสตร์ (SocialScience) ทั่วไป วิทยานิพนธ์ด้านการตลาด มีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกันกับ การทำวิจัยตลาด คือ เป็นการศึกษาและสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการจากลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น ความต้องการ ความคิดเห็น ความพึงพอใจ ทัศนคติ ภาพลักษณ์ ที่ลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมายมีต่อสินค้าหรือบริการของเรา การปรียบเทียบสินค้าและบริการของเรากับคู่แข่งขัน พฤติกรรมการซื้อสินค้า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า เป็นต้น เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สรุปผลและนำมาใช้ในการจัดทำแผนการทำโฆษณา การส่งเสริมการตลาด การสื่อสารด้านการตลาด การปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือบริการ เป็นต้น การวิจัยตลาดให้ถูกต้องแม่นยำ จะต้องนำความรู้ด้านการวิจัยมาใช้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการออกแบบการวิจัย การสุ่มตัวอย่าง การออกแบบแบบสอบถามสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การนำเครื่องมือทางสถิติมาใช้วิเคราะห์ เป็นต้น การทำวิทยานิพนธ์สาขาการตลาด เป็นการวิจัยเป็นกระบวนการที่มีระบบและมีวัตถุประสงค์ในการรวบรวม (Gathering), การบันทึก (Recording), การวิเคราะห์ข้อมูล(Analyzing data) เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ …
การทำวิทยานิพนธ์ด้านการตลาด Read More »
การเขียนนิยามศัพท์ แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค วิธีการ ความหมาย การเขียนนิยามศัพท์ นิยามศัพท์เฉพาะ นิยามศัพท์ปฏิบัติการ สำหรับงานวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ นิยามศัพท์ คือ คำศัพท์ที่ต้องการคำอธิบาย และสื่อความหมายระหว่างผู้ทำวิจัย และผู้อ่านให้มีความหมายตรงกัน โดยเฉพาะคำที่มีความหมายหลากหลาย ปรกติแล้วนิยามศัพท์จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การใช้นิยามเชิงแนวความคิด (Conceptual Definition) และการให้นิยามเชิงหน้าหน้าที่เฉพาะ (Functional Definition) การให้นิยามเชิงแนวความคิด เป็นการให้ความหมายของคำศัพท์เกี่ยวกับแนวความคิดเชิงวิชาการ การให้นิยามศัพท์เชิงหน้าที่เฉพาะ เป็นการให้ความหมายของคำศัพท์ เกี่ยวกับวิธีการที่จะเสนอแนวความคิดไปใช้ในเรื่องราวเฉพาะในรายวิชา ซึ่ง การเขียนนิยามศัพท์ หรือ การให้ความหมายของคำศัพท์ในเชิงปฎิบัติการควรถือเกณฑ์ดังนี้ 1. ให้บุคคลอื่น ๆ รู้ความหมายของค่าเท่ากับผู้วิจัย 2. คำที่ใช้ต้องมีความหมายแน่นอน และตรวจสอบได้ 3. ต้องต่างจากคำอื่น ๆ อย่างเด่นชัด และไม่ซ้ำซ้อน 4. ต้องสอดคล้องกับเรื่องที่ทำการวิจัย 5. ต้องครอบคลุมสภาวะ และเงื่อนไขของวิชาการทำการวิจัย 6. คัดเลือกเพียงคำหลัก …
การเขียนนิยามศัพท์ นิยามศัพท์เฉพาะ นิยามศัพท์ปฏิบัติการ Read More »
การทำวิจัยให้เสร็จเร็ว เทคนิค วิธีการ การทำวิจัยให้เสร็จเร็ว การทำวิทยานิพนธ์ให้เสร็จทันเวลา การทำวิจัยให้เสร็จเร็ว หรือเสร็จทันเวลา มีเทคนิคที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ 5 เทคนิคการทำวิจัยให้เสร็จเร็ว วางแผนการทำงาน : การทำวิจัย รวมไปถึงผลงานวิชาการประเภทอื่นๆ เช่น การทำวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ (Independent Study) มีเนื้อหาและองค์ประกอบสำคัญ หรือองค์ประกอบจำเป็นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องมากมาย โดยเฉพาะ เนื้อหาที่เกี่ยวกับองค์ความรู้ พื้นฐานความรู้ แนวคิด ทฤษฎี สถิติ แบบจำลอง โมเดล และโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติที่จำเป็นต้องใช้ รวมไปถึงการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณที่เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และ การสัมภาษณ์เชิงลึก สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งในแต่ละส่วน แต่ละขั้นตอน จะมีความยากง่ายและระยะเวลาในการดำเนินการแตกต่างกันไป ผู้วิจัย นักศึกษา จำเป็นที่จะต้องวางแผนการทำงานในแต่ละส่วนไว้อย่างมีแบบแผน และดำเนินการในแต่ละขั้นตอนให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด เลือกหัวข้อวิจัยที่ตนถนัดและสนใจ : การทำวิจัยเป็นการทำงานที่ต้องอาศัยระยะเวลาในการดำเนินการค่อนข้างนานพอสมควรเมื่อเทียบกับการเรียนการศึกษาทั่วไป กล่าวคือ วิจัย 1 เล่ม อาจใช้เวลาอย่างน้อย เดือน ไปจนถึง …
การทำวิจัยให้เสร็จเร็ว Read More »
การทำวิจัยทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิคและวิธีการ การทำวิจัยทรัพยากรมมนุษย์ การทำวิจัยทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Research) หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ปัญหาของบุคลากรในองค์กร การตรวจสอบขวัญกำลังใจ ความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ การทำงาน และสิ่งที่พนักงานต้องการ และคุณภาพชีวิต เพื่อเพิ่มผลผลิตที่มากขึ้น มี ประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ด้วยกระบวนการที่มีระบบ มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและชัดเจน ดำเนินการศึกษาค้นคว้าอย่างรอบคอบ ไม่ลำเอียง มีหลักเหตุผล เพื่อพิสูจน์หาคำตอบหรือหาข้อเท็จจริงนั้น ๆ รูปแบบ การทำวิจัยทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management Research) โดยทั่วไป รูปแบบการทำวิจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ ไม่ได้แตกต่างไปจากการวิจัยในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์อื่น ๆ ที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ หรือบูรณาการเอาความรู้ของสาขาวิชา หรือองค์ความรู้แขนงต่าง ๆ มาใข้เพื่อทำความเข้าใจและปรับใช้ประโยชน์ในการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งหลายทั้งปวงในวงข่ายของงานด้านนี้ ซึ่งก็สามารถทำได้ทั้งในลักษณะของการวิจัยหลัก (Basic or Exploratory research) เพื่อสร้างองค์ความรู้ และทฤษฎี หรือการวิจัยประยุกต์ (Applied or Operational …
การทำวิจัยทรัพยากรมนุษย์ Read More »
รับตีพิมพ์บทความ รับตีพิมพ์บทความ บทความ Scopus ISI วารสารวิชาการในต่างประเทศ ให้คำปรึกษาการตีพิมพ์บทความ วารสารวิชาการ วารสารการวิจัยทุกชนิด รับเขียนบทความ รับตีพิมพ์บทความ วารสารวิชาการในต่างประเทศ เช่น ISI Scopus ในสาขาต่างๆ เช่น บริหารธุรกิจ การเงิน การบัญชี การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ บริหารการศึกษา โลจิสติกส์ สาธารณสุขศาสตร์ เป็นต้น ปัจจุบัน การเขียนบทความ และ การตีพิมพ์บทความ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้นสำหรับแวดวงวิชาการ ทั้งในแง่ของการดำรงคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามหลักสูตรที่คณะและมหาวิทยาลัยกำหนดให้ต้องมีการตีพิมพ์บทความวิชาการในต่างประเทศ ทั้ง Scopus หรือ ISI รวมไปถึง นักวิจัย นักวิชาการ ที่จำเป็นต้องมีการตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากลต่างๆเหล่านี้ ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงต้องทำความรู้ความเข้าใจ กับรายละเอียด วิธีการ และขั้นตอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตีพิมพ์บทความวารสาร scopus และ isi ที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถได้รับใบตอบรับการตีพิมพ์ และได้รับการตีพิมพ์ต่อไป ขั้นตอนการตีพิมพ์บทความ การตีพิมพ์บทความ …
รับตีพิมพ์บทความ การตีพิมพ์บทความ scopus ISI Read More »
ช่องว่างการวิจัย ( Research Gap ) แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย การเขียน ช่องว่างการวิจัย (Research Gap) ความหมาย ช่องว่างการวิจัย ช่องว่างการวิจัย หรือ Research Gapคือความแตกต่างระหว่างสิ่งที่รู้และสิ่งที่ไม่รู้เกี่ยวกับหัวข้อวิจัยหรือคำถามการวิจัยหนึ่งๆ ซึ่งเป็นโอกาสสำหรับการวิจัยเพิ่มเติม เพื่อเติมเต็มช่องว่างนี้รวมถึงเป็นการเพิ่มฐานความรู้ที่มีอยู่ในหัวข้อนี้ ช่องว่างของการวิจัยสามารถระบุได้โดยดำเนินการทบทวนวรรณกรรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทบทวนงานวิจัยที่มีอยู่ในหัวข้อ การทบทวนวรรณกรรมจึงเป็นโอกาสในการเขียนบทสนทนา (a written dialogue) เพื่อมีส่วนร่วมกับนักวิจัยในพื้นที่ของงานวิจัยนั้นๆ (area) และในขณะเดียวกัน เป็นการแสดงให้เห็นว่า ผู้วิจัยได้มีส่วนร่วมกับนักวิจัยในพื้นที่งานวิจัยนั้นๆ เป็นการแสดงความรู้ความเข้าใจ และการตอบสนองต่อองค์ความรู้ (body of knowledge)ที่เกี่ยวข้องและเป็นหลักของงานวิจัยนั้นๆ ในการทบทวนวรรณกรรม ผู้วิจัยจะต้องระบุชัดถึงทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นเหตุเป็นผลสนับสนุน หัวข้อวิจัยและวิธีการวิจัย (methodology) ที่ผู้วิจัยเลือกใช้ ผู้วิจัยสามารถใช้วรรณกรรมในการสนับสนุนปัญหา วิจัย หรือชี้ให้เห็นช่องว่าง (gap) จากงานวิจัยในอดีต (previous research) ที่ต้องการการเติมเต็ม เหตุผลของการทบทวนวรรณกรรม ก่อนที่นักวิจัย จะสามารถทำการหาช่องว่างการวิจัย หรือ …
ช่องว่างการวิจัย Research Gap Read More »
การสืบค้นงานวิจัย แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค การสืบค้นงานวิจัย การสืบค้นข้อมูลเพื่องานวิจัย การสืบค้นงานวิจัย เป็นขั้นตอนแรก หรือ จุดเริ่มต้นของการค้นหาข้อมูลต่างๆ หรือเนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้องกับเรื่องหรือหัวข้อที่ทำการวิจัยอยู่ เพื่อนำมาใช้ในการที่จะเขียนรายงานออกมาเพื่อให้เข้าใจมากที่สุด เพื่อเป็นแนวทางในการที่จะทำต้องใช้ในการทำวิจัย 5 เทคนิคในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นักวิจัยหลายท่านมีปัญหาในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยเพื่อที่จะค้นหางานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวิจัยของตนเอง มีเทคนิคในการสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องว่าต้องทำแบบไหน อย่างไร เพื่อที่จะสำเร็จได้ง่ายและสามารถนำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าวนั้นมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยของท่านได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด มีดังนี้ 1. ต้องสืบค้นจากตัวแปรที่ทำการศึกษาวิจัย การสืบค้นจากตัวแปรที่ทำการศึกษาวิจัยจะทำให้ท่านทราบว่าตัวแปรดังกล่าวนี้มีอยู่ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องชิ้น ใดบ้าง เนื่องจากการกำหนดตัวแปรที่จะใช้ในการวิจัยนั้นมีอยู่ในกรอบแนวคิดการวิจัยอย่างชัดเจนอยู่แล้ว ท่านเพียงแต่นำข้อมูลตัวแปรที่กำหนดไว้ในกรอบแนวคิดของการวิจัยของท่าน มาสืบค้นทีละตัวแปรเพื่อที่จะให้ได้งานวิจัยแต่ละชิ้นงานที่สอดคล้องกันจนครบทุกตัวแปร เพื่อที่จะ หางานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุนการศึกษาวิจัย ตัวแปรดังกล่าวได้อย่างเพียงพอ 2. คำต้องกระชับและชัดเจน หลายครั้งที่มีการกำหนดชื่อตัวแปรที่ค่อนข้างยาวจึงทำให้เป็นปัญหาต่อการสืบค้นข้อมูลงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการจะสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องท่านต้องคิดถึงประเด็นหลักหรือ Keyword ของ ตัวแปรดังกล่าว เช่น “ความต้องการต่อการพัฒนา” สามารถสรุปได้สั้นๆ ก็คือ “ความต้องการพัฒนา” ฉะนั้นท่านต้องแยกเป็น 2 ตัว แปร หรือ 2 คำที่มีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน เพื่อที่จะนำไปใช้ในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยต่างๆ ซึ่งผลลัพธ์จะปรากฏตาม Keyword (คำหลัก) ที่ท่านกำหนดในการสืบค้น ท่านต้องตีความให้ชัดเจนว่าตัวแปรที่ชื่อยาวนี้มีKeyword …
การสืบค้นงานวิจัย Read More »
การอภิปรายผลการวิจัย แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย การอภิปรายผลการวิจัย การอภิปรายผลการศึกษา การเขียนอภิปรายผลการวิจัยให้น่าอ่าน การอภิปรายผลการวิจัย คือ การแปลผลการศึกษา หรือ ข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัย ด้วยการเรียบเรียงในรูปแบบและลักษณะตีความและประเมินผล เพื่ออธิบายและยืนยันความสอดคล้องและความแตกต่างระหว่างข้อค้นพบกับสมมติฐานการวิจัย และ อภิปรายเพื่อเชื่อมโยงระหว่างผลการวิจัยที่ได้กับผลการวิจัยที่ผ่านมา ตลอดจนแนวคิด ทฤษฏีที่ใช้เป็นกรอบ ความคิดในการวิจัยว่ามีความสอดคล้อง หรือขัดแย้งกันอย่างไร การอภิปรายผลการวิจัย เป็นขั้นตอนที่สำคัญ เนื่องจากเป็นการประเมินผลการวิจัย เพื่อเป็นการให้เหตุผลยืนยันว่า ผลการวิจยัที่ได้น่าเชื่อถือ ถูกต้องและเป็นจริง โดยชี้แจงหรือแสดงให้เห็นว่า ข้อค้นพบ หรือ การวิจัยนั้นมีความสอดคล้องกับ สมมติฐานการวิจัย ตรงตามขอ้เท็จจริงที่พบ โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฏีและผลการวิจัยคนอื่น และ ผลการวิจัยนี้เป็นไปตามแนวความคิด ทฤษฏีอะไรบา้ง ตลอดจนมีความขัดแย้งหรือไม่ หากไม่มีข้อขัดแย้ง จะตอ้งอธิบายเหตุผลและหาข้อสนับสนุน ชี้แจงความเป็นไปได้ของผลการวิจัยนั้น การเขียนอภิปรายผลนี้ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้วิจัย ได้แสดงถึงความสามารถ หรือ ทักษะเชิงการวิพากย์วิจารณ์ เพื่ออธิบายงานวิจัยของตน ให้ผู้อ่านได้เข้าใจ ด้วยเหตุนี้ การเขียนให้ผู้อ่านเข้าใจได้โดยง่าย และน่าอ่าน จึงเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็น หลักการสำคัญการอภิปรายผลการวิจัย การอภิปรายผลการวิจัยเป็นการประเมินหรือขยายความผลการวิจัย เพื่อ – ยืนยันว่าผลการวิจัยที่ได้น่าเชื่อถือ ถกต้อง …
การอภิปรายผลการวิจัย Read More »
รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา รับวิเคราะห์งบการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน ปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ตลาดหลักทรัพย์ อัตราส่วนทางการเงิน บริการด้านการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล โดยมืออาชีพประสบการณ์ 15 ปี รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series datas) รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์ข้อมูลจากงบการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลจากตลาดทุน ตลาดการเงิน หลักทรัพย์ ตราสารหนี้ ตราสารทุน โดยใช้โปรแกรมที่เกี่ยวข้องและมีประสิทธิภาพ เช่น SPSS STATA EVIEW การวิเคราะห์อนุกรมเวลา เป็นเทคนิคทางสถิติที่ภาครัฐบาลและภาคธุรกิจ สามารถนำไปใช้พยากรณ์ค่าของตัวแปรที่สนใจได้ เช่น ภาคธุรกิจ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาในการพยากรณ์ยอดขาย ภาครัฐบาลใช้เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อ ช่วงหลายสิบปี ที่ผ่านมา นักเศรษฐมิติ ก็ได้มีการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาให้ลึกซ้ึงมากข้ึนเรื่อย ๆ เพื่อจะนำไปประยุกต์ใช้กับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ หรือทฤษฎีทางธุรกิจและการเงินได้มีประสิทธิภาพ และถูกตอ้งมากยิ่งขึ้น เราจะเห็นว่ามีงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเงินนำเทคนิค การวิเคราะห์อนุกรมเวลามาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุนี้ นักศึกษา ผู้วิจัย หรือ นักวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ …
รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา Read More »
รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา รับวิเคราะห์งบการเงิน บริการด้านการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล โดยมืออาชีพประสบการณ์ 15 ปี รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์ข้อมูลจากงบการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลจากตลาดทุน ตลาดการเงิน หลักทรัพย์ ตราสารหนี้ ตราสารทุน โดยใช้โปรแกรมที่เกี่ยวข้องและมีประสิทธิภาพ เช่น SPSS STATA EVIEW รับวิเคราะห์แบบสอบถาม สำหรับการทำวิจัยทุกประเภท วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ สารนิพนธ์ thesis ภาคนิพนธ์ รายงาน และงานวิชาการประเภทต่างๆ ที่มุ่งเน้นการทำงานวิจัยด้วยเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือสำหรับการทำวิจัย อันดับหนึ่งด้าน การวิเคราะห์แบบสอบถาม และรับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์spss และ รับวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมstata ประสบการณ์มากกว่า 17 ปี ผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลมากกว่า 10,000 ชิ้น นอกจากรับวิเคราะห์แบบสอบถาม ด้วยโปรแกรม ยอดนิยมอย่าง SPSS และ STATA เรามีบริการตั้งแต่ต้นทางคือ การสร้างหรือการออกแบบแบบสอบถาม ที่ตรงตามหลักวิชาการ และเชื่อมโยงอ้างอิงกับแนวคิด …
รับวิเคราะห์ข้อมูล Read More »
หัวข้อวิทยานิพนธ์รปศ. แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค วิธีการ การเลือก หัวข้อวิทยานิพนธ์รปศ. การเลือกหัวข้อวิจัย รัฐประศาสนศาสตร์ วิจัยป.โท รปศ. วิจัยปริญญาเอก รปศ. หัวข้อวิทยานิพนธ์รปศ. จะเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจ รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ การบริหารราชการแผ่นดิน นั่นคือ การดำเนินการทั้งปวงของฝ่ายบริหาร ยกเว้นอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ โดยมีจุดมุ่งหมายให้นโยบายของรัฐที่วางไว้บรรลุผล อาจมองได้ทั้งเป็นการปฏิบัติการและการเป็นสาขาวิชาหนึ่งในการบริหารและการจัดการภาครัฐ ที่จะไม่เหมือนการบริหารธุรกิจที่เน้นกำไรสูงสุด รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการเรียนการสอนวิชาในด้านการบริหารรัฐกิจ การบริหารและการจัดการภาครัฐ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่ในหลากหลายลักษณะ ที่สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนซึ่งมีการจัดหลักสูตรเพื่อเปิดสอนตั้งแต่ระดับบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ทั้งในลักษณะภาคปกติภาคสมทบ ภาคพิเศษ หรือ โครงการความร่วมมือกับส่วนราชการ และ ภาคเอกชน รัฐประศาสนศาสตร์ หมายถึง “รัฐประศาสนศาสตร์(public administration science) หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานสาธารณะ ซึ่งรวมไปถึงการบริหารงานราชการและรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการได้ให้ความหมายไว้หลายกหลาย ดังนี้ “รัฐประศาสนศาสตร์” หมายถึง กระบวนการ องค์การ และบุคคลซึ่งดำรงตำแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดและนำเอากฎหมาย ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ ซึ่งออกโดยฝ่าย …
หัวข้อวิทยานิพนธ์รปศ. หัวข้อวิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ วิจัยรปศ. Read More »
ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ ปัญหาที่พบสำหรับการทำวิจัย วิจัยปริญญาโท วิจัยปริญญาเอก ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ รวมไปถึงการประเมินผลการวิจัย และเอกสารทางวิชาการต่างๆ ที่พบค่อนข้างบ่อย มีดังนี้ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัยไม่ชัดเจน วิทยานิพนธ์โดยทั่วไป มักจะเริ่มต้นด้วยการกล่าวถึงบริบทของปัญหา หรือ สถานการณ์ / สภาพทั่วไป ของเรื่องที่ทำวิจัย ซึ่งนักวิจัยหรือนักศึกษา ที่ไม่เคยมีประสบการณ์ทำวิทยานิพนธ์ หรือมีการอ่านงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ในอดีตค่อนข้างน้อย จะไม่เห็นถึงความสำคัญของการให้เหตุผลหรือข้อมูลสนับสนุนว่า ทำไมถึงทำเรื่องที่ทำวิจัย โดยเฉพาะทำไมถึงทำในสถานที่หรือพื้นที่นั้นๆ เช่น การศึกษาแรงจูงใจใในการทำงานองบุคลากรในโรงพยาบาลชุมชน ในจังหวัดนครราชสีมา แต่ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาไม่ได้กล่าวถึงสภาพปัญหา หรือ สถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลฯ ดังกล่าว นอกจากนี้ การเขียนบทนำ หรือ บทที่1 ควรนำเสนอตัวเลข สถิติ ทั้งในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ ชาร์ต ต่างๆ ที่แสดงถึงความเชื่อมโยงของเรื่องที่กำลังทำวิทยานิพนธ์ และควรมีการอ้างอิงถึงทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบางส่วน เพื่อฉายภาพให้เห็นถึงที่มาที่ไป เรียกว่าเป็นการฉายภาพใหญ่ แล้วจึงค่อยๆไล่ลำดับปัญหาและความสำคัญไปสู่ประเด็นที่แคบลงในย่อหน้าท้ายๆ ของที่มาและความสำคัญ 2. หัวข้อวิทยานิพนธ์คลุมเครือ ไม่ชัดเจน การกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ จะต้องมีความชัดเจน สั้น …
ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ Read More »
การเก็บข้อมูลแบบสอบถาม เทคนิค การเก็บข้อมูลแบบสอบถาม การรวบรวมข้อมูล สำหรับการทำวิจัยและวิทยานิพนธ์ การเก็บข้อมูลแบบสอบถาม เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อรวบรวมข้อมูลที่ใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการสำรวจ (Survey) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับการทำวิจัย แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมากที่สุดประเภทหนึ่ง สำหรับการทำวิจัยเชิงปริมาณ ประกอบด้วยข้อคำถามต่างๆ ที่นักวิจัยได้จัดทำขึ้นไว้สำหรับให้ผู้ตอบได้ตอบ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลโดยตรงได้เขียนตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือ หลายเรื่องที่เกี่ยวข้อง และสอดคล้องกันตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย แบบสอบถามมักจะประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความจริงที่เกี่ยวกับการศึกษา เช่น เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับรายได้ อาชีพ ระดับการศึกษา จำนวนบุคคลในครอบครัว ภูมิลำเนา เป็นต้น ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือทัศนคติที่เกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาวิจัย ได้แก่ ความคิดเห็น ทัศนคติ การรับรู้ ความสนใจ ความถนัด เจตคติ เช่น ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการโรงแรมระดับ 5 ดาว , การศึกษาอิทธิพลของความสัมพันธ์ในครอบครัว ที่ส่งผลต่อทัศนคติการเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา เป็นต้น ขั้นตอนของการเก็บแบบสอบถาม …
การเก็บข้อมูลแบบสอบถาม Read More »
การเขียนงานวิจัยบทที่5 การเขียนสรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย การเขียนงานวิจัยบทที่5 การเขียนงานวิจัยบทที่5 สำหรับการทำวิจัยทั่วไปจะเป็นบทสุดท้ายของการทำวิจัย เป็นการเขียนการสรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย รวมไปถึงการเขียนข้อเสนอแนะสำหรับงานวิจัย เป็นเนื้อในในส่วนที่สรุปเนื้อหาทั้งหมดที่ได้ทำการศึกษาวิจัย แนวทางการเขียนสรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย การเขียนสรุปผลวิจัย เขียนตามแบบฟอร์มขององค์กร ดูข้อมูลที่เก็บมาทั้งหมดในภาพกว้างว่าตอบวัตถุประสงค์การวิจัยไหม มีขั้นตอนการเขียนดังนี้ 1. เกริ่นนําวัตถุประสงค์การวิจัยบอกคุณภาพของแบบสอบถามที่รวบรวมข้อมูลว่าคิดเป็ นร้อยละเท่าไร 2. วิเคราะห์การสูญหายของข้อมูล(อาจเขียนหรือไม่เขียนก็ได้)เนื่องจากใช้โปรแกรมวิเคราะห์สถิติขั้นสูง 3. สรุปข้อมูลทัวไป นําเสนอในรูปแบบบรรยายและตาราง ่ 4. สรุปผลตามวัตถุประสงค์การวิจัยเขียนเรียงลําดับตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย และให้สอดคล้องกับข้อคําถามในแบบสอบถาม พร้อมทั้งจัดโครงร่างนําเสนอดูที่แบบสอบถามด้วย นําเสนอในรูปแบบ บรรยาย ตาราง โมเดลและภาพแผนภูมิ ตามวิจารณญาณของข้อมูลพร้อมบรรยาย อธิบายผลการวิจัย ที่นําเสนอ นอกจากนี้การเขียนสรุปผลการวิจัย เขียนโดยจัดกลุ่มให้เห็นชัดเจน 5. การบรรยายใต้ตาราง 5.1 ไม่ควรบอกค่าร้อยละตามตาราง สามารถบรรยาย 3 ใน 4 ส่วน เมื่อข้อมูลประมาณ 75 % หรือ บรรยายจํานวนครึ่งหนึ่ง เมื่อข้อมูลประมาณ 50 % 5.2 …
การเขียนงานวิจัยบทที่5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย Read More »
การหลีกเลี่ยงปัญหาการคัดลอก สำหรับงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และดุษฎีนิพนธ์ การแก้ไขปัญหาการคัดลอก การหลีกเลี่ยงปัญหาการคัดลอก ปัญหาPlagiarism จากโปรแกรมตรวจการคัดลอก อักขราวิสุทธิ์ หรือ Turn It In การหลีกเลี่ยงปัญหาการคัดลอก คือ การเรียบเรียงหรือการเขียนผลงวิจัย รวมไปถึงผลงานวิชาการทุกชนิด เพื่อให้สามารถหลีกเลี่ยงการขโมยความคิดแบบไม่ได้ตั้งใจ ด้วยการใส่เครื่องหมายคำพูด (เมื่อใส่คำพูดลงไปในงาน) รวมถึง การอ้างอิงแหล่งที่มา ทันทีที่ผู้เขียนใส่คำพูดนั้นลงไป หรือไม่ก็ใช้วิธีการถอดความจากต้นฉบับ หากผู้เขียนรอให้งานของคุณเสร็จก่อน แล้วค่อยอ้างอิงแหล่งที่มา ถึงเวลานั้นมีความเป็นไปได้ที่จะลืม และกลายเป็นว่าผู้เขียนไปขโมยความคิดของคนอื่นเขามา เทคนิค การหลีกเลี่ยงปัญหาการคัดลอก 1.มีความรู้ในเรื่องที่ผู้เขียนกำลังพูดถึง การที่คุณเข้าใจสิ่งที่คุณกำลังจะพูด จะทำให้คุณสามารถเขียนออกมาด้วยคำพูดของตัวเองได้ง่ายกว่า และมันก็จะดีกว่าการที่คุณไปพูดซ้ำกับคำพูดของคนอื่น ดังนั้น ให้คุณหาข้อมูลในหนังสือหรืออินเทอร์เน็ต (หนังสือมักให้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือกว่าอินเทอร์เน็ต) เกี่ยวกับเรื่องที่คุณจะเขียนเพื่อนำมาทำความเข้าใจด้วยเทคนิคในที่นี้ก็คือ หาข้อมูลจากหลายๆ แหล่ง หากคุณอิงแค่จากแหล่งเดียว เช่น หนังสือเกี่ยวกับทาสแค่ 1 เล่ม โอกาสที่คุณจะไปลอกไอเดียคนอื่นก็จะมีมากขึ้น แต่ถ้าหากคุณอิงจากหนังสือที่เกี่ยวกับทาส 3 เล่ม เล่มหนึ่งเป็นสารคดี สองเล่มที่เหลือเป็นแหล่งข้อมูลต้นฉบับ โอกาสที่จะเกิดการลอกเลียนแบบโดยไม่ได้ตั้งใจก็จะลดลงไปเยอะ 2. การอ้างอิงคำพูดและแหล่งที่มา งานเขียนจะต้องมีบรรณานุกรมหรือการอ้างอิงในงานของผู้เขียน …
การหลีกเลี่ยงปัญหาการคัดลอก ปัญหา Plagiarism Read More »
การค้นคว้าอิสระ Independent Study (IS) การค้นคว้าอิสระ หรือ การศึกษาค้นคว้าอิสระ คืออะไร? การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือ เรียกอย่างสั้น คือ การค้นคว้าอิสระ หมายถึง เป็นการศึกษารูปแบบหนึ่งที่ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า วิจัย อย่างอิสระใน หัวข้อที่ตกลงกับอาจารย์ที่ปรึกษา นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนตามหลักสูตรปกติของ สถานศึกษา รับรองว่าผู้เรียนมีความสามารถเพียงพอที่จะศึกษาหัวข้อดังกล่าวได้ด้วยตนเอง การศึกษาอิสระ หรือ การค้นคว้าอิสระ ตรงกับภาษาอังกฤษ คือ independent study หรือ directed study เป็นการศึกษารูปแบบหนึ่งที่ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า วิจัย อย่างอิสระในหัวข้อที่ตกลงกัน นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนตามหลักสูตรปกติของสถานศึกษา ทั้งนี้ หัวข้อที่ศึกษาขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างผู้เรียนและอาจารย์หรือกรรมการที่รับผิดชอบดูแล ภายใต้กรอบที่คณะและมหาวิทยาลัยนั้นๆ กำหนด ซึ่งกำหนดสาขาวิชาที่ให้ศึกษา ระยะเวลา ความยากง่าย ปริมาณเนื้องานที่ต้องศึกษาและวิธีการประเมินผลเอาไว้ โดยปกติก่อนเริ่มทำการศึกษาต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ประจำวิชาศึกษาอิสระรับรองหัวข้อนั้นก่อน ซึ่งอาจการรับรองดังกล่าวแตกต่างกันไปตามบริบท เช่น รับรองว่าตนมีความรู้ ความเชี่ยวชาญที่จะให้คำปรึกษาในหัวข้อนั้น รับรองว่าผู้เรียนมีความสามารถเพียงพอที่จะศึกษาหัวข้อดังกล่าวได้ด้วยตนเอง รับรองว่าหัวข้อนั้นมีความสำคัญเหมาะสมกับวิชาการศึกษาอิสระในระดับที่ผู้เรียนศึกษาอยู่ เมื่อนักศึกษาได้หัวข้อการค้นคว้าอิสระเรียบร้อยแล้ว นักศึกษาต้องทำการศึกษาในเรื่องที่ได้รับอนุมัติให้ศึกษาด้วยตนเอง โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของที่ปรึกษา ระดับของการกำกับดูแล ทั้งนี้ อาจมากน้อยต่างกันตามข้อกำหนดของวิชาการศึกษาอิสระในระดับที่ศึกษาอยู่ โดยทั่วไปนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปริญญาตรี ปริญญาโท …
การค้นคว้าอิสระ Independent Study (IS) Read More »
การเขียนวิจัยบทที่3 การเขียนวิธีดำเนินการวิจัย แนวคิด เทคนิค การเขียนวิธีดำเนินการวิจัย การเขียนวิจัยบทที่3 การเขียนวิธีดำเนินการวิจัย หรือ การเขียนวิจัยบทที่3 เป็นการเขียนถึงระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งเป็นส่วนที่แสดงถึงองค์ประกอบสำคัญของเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการทำวิจัย ประกอบด้วย รูปแบบการวิจัย (Research Design) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (Population ans Sample) เครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การทดสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ เป็นต้น ทัั้งนี้ วิธีดำเนินการวิจัย โดยทั่วไปจะอยู่ในเนื้อหาบทที่3 ของงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ฺ วิธีดำเนินงานการวิจัยเป็นขั้นตอนที่สำคัญ และถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของการวิจัย ซึ่งผู้วิจัยจะต้องรายงานเกี่ยวกับแผนการ และวิธีดำเนินงานเป็นลำดับ ก่อนลงมือปฎิบัติการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เช่น นำไปสู่การสรุปผล และข้อเสนอแนะต่อไป การเขียนวิธีการดำเนินงานวิจัย มีลักษณะหรือรูปแบบ การเขียนที่มีความหลากหลาย โดยการเขียนวิธีดำเนินการวิจัยนั้น มักขึ้นอยู่กับลักษณะของเนื้อเรื่อง และการออกแบบวิธีวิจัย ที่ต้องการให้ผู้อ่านหรือผู้สนใจ สนใจเป็นพิเศษ ซึ่งการเขียนขั้นตอนนี้ปรกติจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. กระบวนการรวบรวมข้อมูล และ …
การเขียนวิจัยบทที่3 Read More »
การเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ แนวคิดพื้นฐาน กระบวนการ นิยามและความหมาย ขั้นตอน การเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และปริญญานิพนธ์อื่นๆ การเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ โครงร่างวิทยานิพนธ์ โครงร่างวิจัย ควรมีองค์ประกอบสำคัญดังนี้ ชื่อเรื่อง ความสำคัญและที่มาของปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ วัตถุประสงค์ของการศึกษา คำถามของการทำวิจัย ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สมมติฐานและกรอบแนวคิดของงานวิจัย ขอบเขตของการทำวิจัย นิยามศัพท์ปฏิบัติการ นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการทำวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ระยะเวลาในการดำเนินการ งบประมาณที่ใช้ในการทำวิจัย บรรณานุกรม รายการอ้างอิง ภาคผนวก ประวัติของผู้ดำเนินการวิจัย หัวข้อสำคัญที่ควรพิจารณาสำหรับโครงร่างวิทยานิพนธ์ 1. หัวข้อวิทยานิพนธ์ (the title) 1.1 หัวข้อวิทยานิพนธ์ ควรเป็นหัวข้อที่น่าสนใจ มีความหมายสั้น กะทัดรัดและชัดเจน 1.2 ระบุถึงเรื่องที่จะทำการศึกษาวิจัย ว่าทำอะไร กับใคร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด หรือ ต้องการผลอะไร 1.3 ยกตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมองค์การและภาวะผู้นำของผู้บริหาร ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนแห่งหนึ่ง 1.4 ในกรณีที่หัวข้อวิทยานิพนธ์ มีชื่อที่ยาวมาก …
การเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และปริญญานิพนธ์ Read More »
การเขียนวิจัยบทที่2 สำหรับงานวิจัย วิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ เทคนิค แนวทาง การเขียนวิจัยบทที่2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเขียนวิจัยบทที่2 เป็นการรวบรวม ศึกษา และวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิจัย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเบื้องต้น สำหรับการกำหนดตัวแปรใน กรอบแนวคิดงานวิจัย การเขียนงานวิจัยบทที่2 หรือ การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) หมายถึง การค้นคว้าศึกษา รวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการ เช่น ผลงานวิจัย บทความเอกสารทางวิชาการ และตำราที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็นที่ทำการวิจัย บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาค้นคว้าแนวคิด ทฤษฎี ความรู้ในเรื่องนั้น ๆ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อในบทที่ 2 ได้แก่ ทฤษฎี ความรู้เบื้องต้นในเรื่องนั้น ๆ ความหมาย ประวัติความเป็นมาของปัญหาที่วิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและงานวิจัยต่างประเทศ องค์ประกอบสำคัญของวิจัยบทที่2 เนื่องจาก งานวิจัยบทที่2 เป็นบทที่ประกอบไปด้วยรายละเอียดของเนื้อหาที่จะนำมาใส่ในเอกสารของการศึกษาเอกเทศนี้ คือ การแสดงผลการศึกษา การรวบรวมหลักการ …
การเขียนวิจัยบทที่2 Read More »
การเขียนบทนำ บทนำงานวิจัย แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค วิธีการ การเขียนบทนำ การเขียนบทนำงานวิจัย การเขียนบทนำ คือ การเขียนและเรียบเรียงเนื้อหา เพื่อเสนอประเด็นปัญหาการวิจัยและการตีกรอบปัญหาการวิจัยให้ชัดเจน ประกอบด้วยความเป็นมาของปัญหาการวิจัยและความสำคัญ วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเจตการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย คำนิยามศัพท์เฉพาะและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย การเขียนบทนำที่ดีนั้น เมื่อนักวิจัยได้ลงมือเขียนย่อหน้าแรกแล้ว จะต้องมีวิธีการเขียนเพื่อดึงดูดให้ผู้อ่านเข้าสู่ประเด็นที่ผู้เขียนต้องการนำเสนอโดย จะเริ่มจากการเขียนเนื้อหาในเชิงกว้างหรือการฉายภาพใหญ่ เช่น การยกนโยบายระดับประเทศเพื่อนำสู่ปัญหาหรือที่มาของปัญหา แล้วโยงเข้าสู่ประเด็นย่อยที่เราต้องการเขียน โดยกล่าวถึงบริบทของเรื่องที่ศึกษา ความสำคัญของเรื่องที่ศึกษา บทนำของรายงานวิจัยนับว่าเป็นส่วนที่ยากและท้าทายที่สุดในการเขียนรายงานนี้เลยก็ว่าได้ ความยาวของบทนำอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับประเภทของงานวิจัยที่คุณกำลังเขียนนั้น บทนำควรจะบอกให้ทราบถึงหัวข้อของคุณ เนื้อหา และเหตุผลในการทำงานวิจัยของคุณ ก่อนที่จะเริ่มกล่าวถึงคำถามและสมมุติฐานในงานวิจัยของคุณ บทนำที่ดีจะบ่งบอกถึงลักษณะของงานเขียนนี้ ทำให้ผู้อ่านสนใจ และสื่อสารสมมุติฐานหรือใจความหลักได้ เทคนิคการเขียนบทนำงานวิจัย 1. บอกให้ทราบถึงเรื่องที่คุณทำวิจัย คุณสามารถเริ่มบทนำของคุณด้วยประโยคสักสองสามประโยคบอกให้ทราบเรื่องที่คุณเขียนและชี้ให้เห็นถึงคำถามของงานวิจัยที่คุณจะถาม นี่เป็นวิธีที่ดีที่จะเกริ่นให้ผู้อ่านทราบถึงเรื่องที่คุณเขียนและดึงดูดความสนใจของพวกเขาได้ 2 – 3 ประโยคแรกควรจะเป็นตัวชี้แนะให้ทราบถึงปัญหาอย่างกว้างที่คุณจะพูดถึงมากขึ้นในส่วนที่เหลือของบทนำ และพาไปสู่คำถามของงานวิจัยที่เจาะลึกลงไปของคุณ ในงานเขียนทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งก็เรียกว่า “สามเหลี่ยมคว่ำ” ที่เริ่มจากการเขียนถึงเรื่องทั่วไปอย่างกว้างขวางก่อนในต้อนต้น ก่อนจะค่อยๆ ขยายเจาะลึกเข้าไปเป็นเรื่องๆ เฉพาะ ประโยคที่ว่า “ตลอดเวลาที่ผ่านมาในศตวรรษที่ 20 มุมมองชีวิตบนดาวเคราะห์ดวงอื่นได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก” บอกให้ทราบถึงหัวข้อเรื่อง …
การเขียนบทนำ Read More »
การทดสอบสมมติฐาน แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย การทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานของงานวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ การทดสอบสมมติฐาน สำหรับการวิจัย หมายถึงการทดสอบหรือตรวจสอบว่าการคาดคะเนคำตอบล่วงหน้า ของงานวิจัยนั้นเป็นจริงหรือไม่ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจริงหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Evidence) เพื่อนeมาทดสอบการคาดคะเนนั้น ซึ่งหากข้อมูลจริงสอดคล้องกับการคะเน หรือ การคาดการณ์ที่ตั้งไว้ หมายความว่าสมมติฐานเป็นจริง โดยใช้วิธีการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) คือข้อความที่ระบุความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร หรือ แนวคิด (concept) ซึ่งผู้วิจัยต้องทำการทดสอบว่าเป็นความจริงหรือไม่ โดยเป็นข้อความที่คาดคะเนคำตอบหรือทำนายไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลต่อปัญหาของการวิจัย ที่ต้องการศึกษาหาคำตอบ และเป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปร หรือ ปัจจัย ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป ข้อความนั้นๆ อาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้องก็ได้ จึงต้องมีการทดสอบหรือพิสูจน์ด้วยการอาศัยกระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบสมมติฐาน ประกอบด้วย การทดสอบสมมติฐานค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่ น่าสนใจ และน่าศึกษาเป็นอย่างยิ่ง ดังนี้ 7.1 นิยาม 7.2 การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว และแบบสองทาง 7.3 …
การทดสอบสมมติฐาน Read More »
รับทำDissertation รับทำวิจัยภาษาอังกฤษ รับทำThesisภาษาอังกฤษ รับทำDissertation ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ ทุกกระบวนการทำงานวิจัยภาษาอังกฤษ Thesis ภาษาอังกฤษ รับทำDissertation ภาษาอังกฤษ สายสังคมศาสตร์ ทุกสาขา เช่น บริหารธุรกิจ (BBA / MBA / DBA / Ph.D) การเงิน การบัญชี โลจิสติกส์ การจัดการโซ่อุปทาน การจัดการทรัพยากรมนุมนุษย์ การจัดการทั่วไป การวิเคราะห์โครงการ แผนธุรกิจ การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อธุรกิจ รับทำDissertationด้านเศรษฐศาสตร์ (Economics) เศรษฐศาสตร์แรงงาน ทุนมนุษย์ เศรษฐศาสตร์การเงิน (Monetary Economics / Finance Economics) เศรษฐศาสตร์การเมือง เศรษฐศาสาตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ การวิเคราะห์โครงการ เป็นต้น ปรึกษาการทำ Dissertation ภาษาอังกฤษ สายสังคมศาสตร์ ทุกแขนง รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ การจัดการโลจิสติกส์ …
รับทำDissertation Read More »
การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ANOVA การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว หรือ Analysis of Variance (ANOVA) หมายถึง การวิเคราะห์ความแปรปรวน เป็นการทดสอบทางสถิติที่พัฒนาโดยโรนัลด์ ฟิชเชอร์ (Ronald Fisher) ในปี ค.ศ. 1918 และได้ถูกนำมาใช้ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา พูดง่าย ๆ ว่า ANOVA จะเป็นสิ่งที่จะบอกคุณว่ามีความแตกต่างทางสถิติระหว่างวิธีการของกลุ่มอิสระ 3 กลุ่มขึ้นไปหรือไม่ ANOVA แบบ 1 ตัวแปรเป็นรูปแแบบการวิเคราะห์ขั้นพื้นฐานที่สุด และยังมีรูปแบบการวิเคราะห์ประเภทอื่น ๆ ที่สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ดังนี้: แบบ 2 ตัวแปร (Two-way ANOVA) แฟกทอเรียล (Factorial ANOVA) แบบทดสอบของเวลซ์ (Welch’s F-test ANOVA) ANOVA แบบจัดอันดับ …
การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ANOVA Read More »
การวิเคราะห์แบบสอบถาม เทคนิค แนวทาง การวิเคราะห์แบบสอบถาม ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป การทำวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยทั่วไปจะมีการวิเคราะห์ข้อมูลตามรูปแบบหรือประเภทของข้อมูล คือ การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เช่น ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) ข้อมูลจากการวางแผนการทดลอง และ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้แนวทางการสำรวจ (Survey) โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือสำหรับการทำวิจัย ดังนั้น การวิเคราะห์แบบสอบถาม จึงเป็นสิ่งที่นักวิจัยต้องให้ความสำคัญและต้องเรียนรู้กับเทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ที่ทำการเก็บรวบรวมด้วยแบบสอบถาม โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติที่ได้รับความนิยมแพร่หลายที่สุด สำหรับการวิเคราะห์แบบสอบถาม คือ โปรแกรม SPSS และ โปรแกรม STATA อย่างไรก็ตาม โปรแกรม SPSS ถือได้ว่ามีข้อดีหรือข้อได้เปรียบโปรแกรม STATA ในเรื่องของความง่ายหรือความสะดวก การทำความเข้าใจโปรแกรม การทำความเข้าใจคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม SPSS สามารถทำได้ง่ายกว่า และตารางผลลัพธ์เป็นตารางที่นำไปปรับใช้สำหรับการเขียนผลการศึกษา หรือ การนำเสนอผลการศึกษาที่ง่ายและสวยงามกว่าโปรแกรม STATA การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถาม การวิเคราะห์แบบสอบถาม ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เช่น SPSS …
การวิเคราะห์แบบสอบถาม Read More »
การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิค การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ การทำวิทยานิพนธ์ด้านรัฐศาสตร์ วิจัยปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์ รัฐศาสตร์ การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน รัฐศาสตร์ การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ วิจัยการจัดการภาครัฐและเอกชน บริหารรัฐกิจ และการบริหารนโยบายสาธารณะ สามารถกำหนดระเบียบวิธีวิจัยได้ดังนี้ การวิจัย เชิงปริมาณ Quantitative Research เชิงคุณภาพ Qualitative Research แบบผสมผสาน Mixed Research Approach การวิจัย เชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม เชิงพยากรณ์อนาคต ตามศาสตร์ ตามวัตถุประสงค์ การวิจัย ตามการเก็บ รวบรวมข้อมูล ตามระเบียบวิธีวิจัย ตามประโยชน์ของการวิจัย ตัวอย่าง หัวข้อวิจัยการจัดการภาครัฐและเอกชน วิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ 1.ปัจจัยการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้านในจังหวัดร้อยเอ็ด 2.การพัฒนาการบริหารจัดการเทศบาลตำบลกลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธ 3.รายงานการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองยาง …
การวิจัยทางรัฐศาสตร์ Read More »
การสืบค้นวิทยานิพนธ์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ การใช้ฐานข้อมูลเพื่อสืบค้นงานวิจัย การสืบค้นวิทยานิพนธ์ การสืบค้นงานวิจัย สืบค้นวิจัยปริญญาโท วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก การสืบค้นดุษฎีนิพนธ์ การสืบค้นวิทยานิพนธ์ หลักเกณฑ์หรือแนวทางในการสืบค้นวิทยานิพนธ์ การสืบค้นงานวิจัย สารนิพนธ์ หรืองานวิจัยประเภทต่างๆ จะอาศัยวิธีการเช่นเดียวกันกับ การสืบค้นสารสนเทศ กล่าวคือ เลือกประเภทเอกสาร และ เครื่องมือสำหรับสืบค้น วางแผนการสืบค้น ได้แก่ กำหนดคำค้น (Keyword) จากหัวข้อวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ หรือหัวข้อวิจัยที่ต้องการ และ กำหนดเทคนิคการสืบค้นวิทยานิพนธ์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทยที่สำคัญ ฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการสืบค้นข้อมูลวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัยของไทย ครอบคลุมวิทยานิพนธ์เต็มเล่มและบทความวิจัยบางส่วนทุกสาขา เป็นฐานข้อมูลวิจัยที่ใช้งานได้จริง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ได้มาก ซึ่งเป็นฐานข้อมูล ที่ทีม รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ และ ดุษฎีนิพนธ์ ต้องใช้อย่างมาก ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University Theses) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แบบออนไลน์บนเมนู TU Digital Collection เป็นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและปริญญา เอก มากกว่า …
การสืบค้นวิทยานิพนธ์ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ Read More »
การใช้ฐานข้อมูลงานวิจัย การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การใช้ฐานข้อมูลงานวิจัย มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมาก สำหรับการทำงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นวิจัยประเภทใดก็ตาม บทความนี้นำเสนอ แนวคิด วิธีการ การใช้ฐานข้อมูลงานวิจัย การสืบค้นข้อมูล ฐานข้อมูลเพื่องานวิจัย และ เทคนิคการค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สำหรับการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ รวมไปถึงการทำงานวิชาการประเภทต่างๆ ที่อ้างอิงระบบการทำงานที่มีระเบียบและระบบที่มีมาตรฐานเช่นเดียวกับการทำวิจัย การการสืบค้นข้อมูลนั้น มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมาก สำหรับการทำงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นวิจัยประเภทใดก็ตาม ดังนั้นเรื่องของการเริ่มต้นในการทำงานวิจัยที่ดีนั้น จะต้องเริ่มที่การหาข้อมูลมาประกอบให้ดีมากที่สุดด้วย ข้อมูลนั้นจะต้องกว้างเพียงพอ และตรงประเด็น อีกทั้งจะต้องเชื่อถือได้อีกด้วย ดังนั้นการสืบค้นข้อมูล จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่อง งานวิจัยที่ตนเองสนใจอยู่เพื่อนำมาใช้ในการที่จะเขียนรายงานออกมาเพื่อให้เข้าใจมากที่สุด เพื่อเป็นแนวทางในการที่จะทำต้องใช้ในการทำวิจัย ทั้งนี้แหล่งสืบค้นข้อมูลในปัจจุบันมีมากมาย แหล่งสืบค้น มีมากมายหลากหลายแหล่ง ทั้งห้องสมุด หรือว่าการท่อง google เพื่อเข้าไปหาข้อมูล ซึ่งในปัจจุบัน นั้นนับได้ว่า เป็นแหล่งข้อมูลอีกชนิดหนึ่ง ที่ได้รับความสนใจและได้รับความนิยมมากที่สุด วิธีการนั้นก็สืบค้นรวดเร็วและมีความสะดวก ตัวอย่างแหล่งในการสืบค้นข้อมูลสำหรับงานวิจัย เช่น 1. TDC : Thai Digital Collection : ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อให้บริการสืบค้นฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ซึ่งเป็นเอกสารฉบับเต็มของวิทยานิพนธ์ …
การสืบค้นงานวิจัย การสืบค้นข้อมูล Read More »
รับทำวิจัยบท2 รับสืบค้นข้อมูล รับทำวิจัยบท2 รับเขียนทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) รับรวบรวมแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสำหรับการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล รับทำวิจัยบท2 รับเขียนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รับทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) การเขียน Literature Review เป็นสิ่งที่สำคัญและทำให้งานทั้งฉบับดูมีคุณค่าหรือดูไม่น่าเชื่อถือ ซึ่งควรเขียนแบบมีการวางแผน ตามโครงสร้างที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า ไม่ควรเขียนหรือเรียบเรียงแบบเจอเนื้อหาอะไรก็เอามาใส่ไว้ในบทนี้ ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) การค้นคว้าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษา และ/หรือ โจทย์วิจัยที่กำหนดไว้ เพื่อให้นักวิจัยมีความรอบรู้ในเรื่องนั้นๆ มากยิ่งขึ้น จนสามารถทำการวิจัยในเรื่องดังกล่าวได้อย่างมีคุณภาพ การทบทวนวรรณกรรม การเขียนLiterature review ที่ดี ไม่ควรเขียนหรือเรียบเรียงแบบ “ขนมชั้น” คือ การเอาเนื้อหาไม่ว่าจะเป็นแนวคิด หลักเกณฑ์ หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอามาต่อๆ กัน โดยไม่มีการเชื่อมโยงเนื้อหาในแต่ละส่วน โดยทุกเนื้อหาที่เขียนจะต้องแสดงที่มาที่ไป มีการจั่วหัว การเกริ่นนำ และการสรุปเนื้อหาในแต่ละหัวข้อ และหากเป็นงานที่ต้องมีการวิเคราะห์องค์ประกอบ …
รับทำวิจัยบท2 รับเขียนทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) Read More »
การสร้างสื่อการเรียนการสอน แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิคและวิธีการ การสร้างสื่อการเรียนการสอน การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน วิจัยป.โท ด้านการศึกษา การสร้างสื่อการเรียนการสอน ความหมายของการออกแบบสื่อการเรียนการสอน คือการจัดทำสื่อให้น่าสนใจ น่าติดตาม เป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้ผลิตจะต้องออกแบบและอาศัยความรู้ความชำนาญด้านศิลปะเข้ามาช่วยในการจัดทำให้หัวข้อย่อยหรือโครงสร้างข้อมูลที่กำหนดไว้นั้นเป็นรูปเป็นร่าง มีรูปแบบที่สวยงาม สามารถสื่อความหมายได้เหมาะสมกับเนื้อหา รวมทั้งการประดิษฐ์คิดค้นเทคนิคต่าง ๆ ที่ทำให้สื่อที่ผลิตนั้น .สะดวกต่อการใช้ ง่ายต่อการเข้าใจ จะทำให้สื่อที่ผลิตนั้นมีคุณค่า และมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนเป็นอย่างดี การออกแบบสื่อ องค์ประกอบที่สำคัญในการเรียนการสอนคือสิ่งที่ครูมักนำไปประกอบการเรียนการสอนนั่นก็คือ สื่อการสอนนั่นเอง สื่อการสอนนับว่ามีประโยชน์มากเพราะสื่อการสอนเปรียบเป็นกุญแจสำคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าใจในเนื้อหาและได้เห็นภาพได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นมากกว่าที่ครูผู้สอนจะสอนโดยการมาบรรยายหรือสอนตามเนื้อหา โดยไม่มีอุปกรณ์ช่วยสอนเลย หลักการออกแบบสื่อการสอน ในการออกแบบ จำเป็นต้องศึกษาและเข้าใจขั้นตอนในการออกแบบ เพื่อนำมาประยุกต์เป็นแนวทางในการปฏิบัติและลงมือสร้างบทเรียน เพื่อให้ได้ผลงานที่ถูกต้องตามจุดประสงค์ เมื่อศึกษาและเข้าใจในการออกแบบดีแล้วย่อมจะทำให้ผลงานนั้นออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ หลักเกณฑ์ การออกแบบสื่อการเรียนการสอน หลักการออกแบบประกอบไปด้วย 9 ขั้นตอน ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้ออกแบบสำหรับชั้นเรียนปกติ แต่ได้นำมาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ได้ หลักการสอนประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1 เร้าความสนใจ (Gain Attention) 2 บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objectives) 3 ทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) 4 …
การสร้างสื่อการเรียนการสอน สำหรับวิจัยด้านการศึกษา บริหารการศึกษา Read More »
รับทำวิจัยการเงิน รับทำวิทยานิพนธ์การเงิน วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมการเงิน บริหารธุรกิจการเงิน ให้คำปรึกษาการทำวิจัยการเงินในระดับปริญญาเอก บริการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา รับวิเคราะห์ข้อมูลEVIEW รับสอน การวิเคราะห์EVIEW รับทำวิจัยการเงิน จ้างทำวิจัยการเงิน เศรษฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ ในรอบสิบกว่าปีที่ผ่านมา เราให้บริการเป็นที่ปรึกษา รับทำวิจัยการเงิน ในลักษณะ ผู้ช่วยทำงานวิจัย วิทยานิพนธ์ จำนวนมาก ที่ประสบกับปัญหาการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ สาขาการเงิน ทั้งหลักสูตรบริหารธุรกิจ ด้านการเงิน (MBA.FINANCE) วิศวกรรมการเงิน วิทยาศาสตร์การเงิน และ เศรษฐศาสตร์การเงิน สามารถให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ มีประสิทธิภาพ ทั้งความแม่นยำองค์ความรู้ด้านการเงิน ทฤษฎีตลาดทุน การบริหารการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน ตราสารทางการเงิน หลักทรัพย์ ตราสารหนี้ ความแม่นยำด้านแบบจำลองเศรษฐมิติ สถิติ และคณิตศาสตร์ ที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการสร้างแบบจำลองและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเฉพาะโปรแกรมวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติที่เกี่ยวข้องกับการทำวิจัยการเงิน ได้แก่ STATA EVIEW และ LIMDEP ทำให้เราสามารถให้การช่วยเหลือ การให้คำปรึกษา การเป็นที่มหรือผู้ช่วยวิจัยที่มีคุณภาพ …
รับทำวิจัยการเงิน Read More »
วิจัยรปศ. แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิจัย วิจัยรปศ. วิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยรปศ. วิทยานิพนธ์รปศ. วิจัยปริญญาโทรปศ. วิทยาินพนธ์ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ วิจัยรปศ. สำหรับผู้ที่ศึกษานอกสายงานรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสาตร์ อาจมีความสับสน หรือ เข้าใจผิดเกี่ยวกับงานวิจัย “การบริหารนโยบายสาธารณะ” ว่าแท้ที่จริงแล้วขอบข่ายอยู่ในรัฐศาสตร์ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ บทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับ การทำวิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ และ การทำวิจัยเกี่ยวกับการบริหารนโยบายสาธารณะ การศึกษาในสาขา รัฐศาสตร์จะเรียนเรื่องการเมือง การปกครอง การเข้าสู่อำนาจ การลงจากอำนาจ ส่วน รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องการบริหาร การบริหารภาครัฐทั้งหมด สำหรับ ประเทศไทยจะเรียนเรื่องการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น สาขาเอกย่อยๆ 1.นโยบายสาธารณะ 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3.องค์การและการจัดการ 4.กระบวนการยุติธรรม และยังเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับ Thailand 4.0 ประชาคมอาเซียน ทักษะทางด้านภาษาและเทคโนโลยีทางด้านไอที เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานของบัณฑิตในอนาคต นโยบายสาธารณะเป็นขอบข่ายหนึ่งของ การศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งหมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำ หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐซึ่งได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำการกระทำที่ตามมาให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ด้วยการวางแผน …
วิจัยรปศ. Read More »
รับเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูล รับหาข้อมูล ให้บริการด้านการทำวิจัย ข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล รับเก็บข้อมูล รับหาข้อมูล รับรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Reries Data) ข้อมูลจากกระทรวงพาณิชย์ งบการเงิน ข้อมูล ตลาดการเงิน ตลาดทุน สำหรับใช้ในงานวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ให้บริการเก็บรวบรวมข้อมูล รับเก็บข้อมูล รับหาข้อมูล จากฐานข้อมูลระดับโลก เช่น World Bank , Bloomberg, Reuters และข้อมูลสำคัญในตลาดหลักทรัพย์ ข้อมูลปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ตลาดทุน ตลาดการเงิน งบดุล งบการเงิน งบกำไรขาดทุน และข้อมูลด้านยอดขาย ทุกประเภท สำหรับใช้ในการประกอบแผนธุรกิจและงานวิจัย รับทำแบบสอบถาม รับเขียนแผนธุรกิจ งาน วิจัย การ ตลาด รับเก็บแบบสอบถาม รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์spss สำหรับงานวิจัยทุกประเภท เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานขององค์กรธุรกิจ พร้อมให้บริการ …
รับเก็บข้อมูล ข้อมูลแบบสอบถาม ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลอนุกรมเวลา Read More »
รับทำวิจัย วิจัยตลาด วิจัยการเงิน วิจัยรัฐศาสตร์ และสายสังคมศาสตร์อื่นๆ ทุกสาขา รับแก้ไขวิทยานิพนธ์ แก้ไขดุษฎีนิพนธ์ ให้คำปรึกษาการทำวิจัยทุกขั้นตอน การออกแบบงานวิจัย การกำหนดหัวข้อวิจัยและวิทยานิพนธ์ การสืบค้นแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การกำหนดตัวแปรในกรอบแนวคิด การวิเคราะห์ข้อมูล SPSS AMOS LISREL STATA EVIEW รับแก้ไขวิทยานิพนธ์ และ ดุษฎีนิพนธ์ รับแก้ไขวิทยานิพนธ์ แก้ไขงานวิจัยปริญญาโทและปริญญาเอก รับแก้ไขงานวิจัย แก้ไขงานวิจัย แก้ไขวิทยานิพนธ์ ในประเด็นที่เป็นปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ การเขียนที่มาและความสำคัญ การกำหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐานวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อง การเขียนนิยามศัพท์ที่สอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) การแก้ไขตัวแปรในกรอบแนวคิดสำหรับงานวิจัย ไปจนถึง การแก้ไขระเบียบวิธีวิจัย การเก็บแบบสอบถาม และกลุ่มตัวอย่าง การรวบรวมข้อมูล ไปจนถึงการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น ปัญหาที่ผู้ทำวิจัย หรือ นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ วิจัยปริญญาโท หรือ ผู้ที่กำลังทำดุษฎีนิพนธ์ วิจัยปริญญาเอก มักจะต้องเจอเมื่อต้องทำงานวิจัยจบในขั้นสุดท้ายของการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จะมีตั้งแต่ การกำหนดหัวข้อวิจัย/หัวข้อวิทยานิพนธ์ …
รับแก้ไขวิทยานิพนธ์ Read More »
รับสร้างแบบสอบถาม รับทำแบบสอบถาม ทีมวิจัยมืออาชีพ รับทำวิจัย รับสร้างแบบสอบถาม รับทำแบบสอบถาม ให้บริการจัดทำแบบสอบถาม รับสร้างแบบสอบถาม รับทำแบบสอบถาม สำหรับการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ สารนิพนธ์ และงานวิจัยทุกชนิด ที่ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับงานวิจัย รับสร้างแบบสอบถามสำหรับการทำวิจัยเชิงปริมาณ รับสร้างแบบสอบถามสำหรับงานวิจัยที่ใช้การสำรวจ ด้วยการใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือสำหรับการทำวิจัย รับทำแบบสอบถามสำหรับการทำวิจัยด้านสังคมศาสตร์ วิทยานิพนธ์สายสังคมศาสตร์ทุกสาขา ได้แก่ แบบสอบถามสำหรับการทำวิจัย บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์และสื่อสารมวลชน การศึกษา/บริหารการศึกษา ศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ แบบสอบถาม สำหรับวิจัยด้านรัฐศาสตร์ แบบสอบถามสาขารัฐประศาสนศาสตร์ หรือ รปศ. แบบสอบถามในสาขาโลจิสติกส์ และการจัดการโซ่อุปทาน เป็นต้น รับทำแบบสอบถามและสร้างแบบสอบถาม ด้วยมืออาชีพที่มีพื้นฐานความรู้ในสายสังคมศาสตร์ ระดับปริญญาเอกและปริญญาโท หลายสาขา สามารถรับสร้างแบบสอบถาม ทำแบบสอบถาม ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสม สอดคล้องกับการสร้างแปรในกรอบแนวคิดสำหรับงานวิจัย อ้างอิงเชื่อมโยงกับแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด การสร้างแบบสอบถาม การทำแบบสอบถาม ยึดหลักการสร้างแบบสอบถามที่ดี แบบสอบถาม เป็นรูปแบบของคำถามเป็นชุดๆที่ได้ถูกรวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบ …
รับสร้างแบบสอบถาม รับทำแบบสอบถาม Read More »
วิจัยด้านการจัดการ การจัดการทั่วไป หัวข้อวิจัยเกี่ยวกับการจัดการ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย หัวข้อวิจัยเกี่ยวกับการจัดการ การทำวิจัยเกี่ยวกับการจัดการ วิทยานิพนธ์การจัดการ ผู้ทำวิจัยจะต้องมีพื้นฐานและองค์ความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับการจัดการ การจัดการธุรกิจเป็นอย่างดี ีจึงจำนไปสู่ การตั้งชื่อเรื่อง หรือการกำหนด หัวข้อวิจัยเกี่ยวกับการจัดการ ที่ถูกต้องเหมาะสม และสามารถดำเเนินการทำวิจัยต่อจนสำเร็จ การจัดการ หมายถึง การให้กลุ่มบุคคลในองค์กรเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันขององค์กร ซึ่งประกอบด้วยการวางแผน การจัดการองค์กร การสรรบุคลากร การนำหรือสั่งการ และการควบคุมองค์กรหรือความพยายามที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน การจัดการ คือการทำให้กลุ่มบุคคลในองค์กรเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันขององค์กร การจัดการประกอบด้วยการวางแผน การจัดการองค์กร การสรรบุคลากร การนำหรือการสั่งการ และการควบคุมองค์กรหรือความพยายามที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน การจัดการทรัพยากรประกอบด้วยการใช้งานและการจัดวางทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรเทคโนโลยี และทรัพยากรธรรมชาติ และยังช่วยการบริหารให้กับองค์กรต่างๆให้เจริญรุ่งเรือง กระบวนการในการจัดการ การวางแผน การวางแผนหรือ Planning หมายถึงการพิจารณากำหนดแนวทางการทำงานให้ บรรลุเป้าหมาย โดยเกิดจากการใช้ดุลพินิจคาดการณ์ล่วงหน้าเพื่อเป็นแนวทางการการทำงานใน อนาคต การจัดองค์การ การจัดองค์การหรือ Organizing หมายถึง การจัดระเบียบหรือโครงสร้างของการ ทำงานภายในองค์กรให้เป็นระบบระเบียบและอยู่ในส่วนประกอบที่เหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์และช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จได้เร็วขึ้น การบังคับบัญชาสั่งการ หรือ Commanding หมายถึง ภาระหน้าที่ของผู้บริหารในการใช้ความสามารถชักจูงหรือหว่านล้อมผู้ใต้บังคับ บัญชาให้ปฏิบัติงานตามคำสั่ง จนสามารถทำให้องค์กรบรรลุผลสำเร็จได้ การประสานงาน หรือ Coordinating หมายถึง การจัดให้ทรัพยากรบุคคลภายในองค์กรทำงานประสานสัมพันธ์สอดคล้องเป็นน้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน …
หัวข้อวิจัยเกี่ยวกับการจัดการ Read More »
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ เทคนิค วิธีการ การเตรียมตัว การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ การสอบป้องกัน หรือเรียกว่า Defense Examination เป็นการสอบจบผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งเป็นการรวบรวมสังเคราะห์ข้อมูลวิจัยที่ได้ดำเนินการมา ซึ่งผู้วิจัยจะต้องรวบรวมความคิดทั้งหมดอย่างเป็นระบบ สามารถตอบคำถามคณะกรรมการสอบในมิติต่างๆ ในด้านวิชาการ เนื้อหา และด้านข้อมูลทางสถิติงานวิจัย เป็นต้น ซึ่งกระบวนการสำหรับ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ จึงมีรายละเอียดตามที่ได้กล่าวไปแล้ว คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะมีสิทธิ์สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ มีดังนี้ 1. ลงทะเบียนเรียนครบถ้วนตามหลักสูตรที่กำหนดไว้ และมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00 สำหรับหลักสูตรต่อไปนี้ 1) ปริญญามหาบัณฑิต แผน ก2 และ แผน ข 2) ปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2 2. กรณีสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์ ต้องดำเนินการหลังจากได้รับอนุมัติโครงร่าง ไม่น้อยกว่า 90 วัน 3. กรณีสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ ต้องดำเนินการหลังจากได้รับอนุมัติโครงร่าง …
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ Read More »
การสร้างแบบสอบถาม แนวคิดเกี่ยวกับ การสร้างแบบสอบถาม การรวบรวมและ การเก็บแบบสอบถาม เพื่องานวิจัย ก่อนไปถึงขั้นตอน การสร้างแบบสอบถาม ผู้ทำวิจัยควรทำความเข้าใจกับแบบสอบถาม และ การสร้างแบบสอบถามที่ถูกต้อง ดังนี้ แบบสอบถาม(Questionnaire) หมายถึง รูปแบบของคำถามเป็นชุดๆ ที่ได้ถูกรวบรวมไว้อย่างมีหลักเกณฑ์และเป็นระบบ เพื่อใช้วัดสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการจะวัดจากกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรเป้าหมายให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงทั้งในอดีต ปัจจุบันและการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต แบบสอบถามประกอบด้วยรายการคำถามที่สร้างอย่างประณีต เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือข้อเท็จจริง โดยส่งให้กลุ่มตัวอย่างตามความสมัครใจ การใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลนั้น การสร้างคำถามเป็นงานที่สำคัญสำหรับผู้วิจัย เพราะว่าผู้วิจัยอาจไม่มีโอกาสได้พบปะกับผู้ตอบแบบสอบถามเพื่ออธิบายความหมายต่าง ๆ ของข้อคำถามที่ต้องการเก็บรวบรวม แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือวิจัยชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก เพราะการเก็บรวบรวมข้อมูลสะดวกและสามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามสามารถทำได้ด้วยการสัมภาษณ์หรือให้ผู้ตอบด้วยตนเอง โครงสร้างของแบบสอบถาม โดยทั่วไป แบบสอบถามจะมีโครงสร้างหลักหรือโครงสร้างที่สำคัญ 3 ส่วน ประกอบด้วย 1. หนังสือนำหรือคำชี้แจง ส่วนแรกของแบบสอบถาม อาจมีจดหมายนำอยู่ด้านหน้าพร้อมคำขอบคุณ โดยคำชี้แจงมักจะระบุถึงจุดประสงค์ที่ให้ตอบแบบสอบถาม การนำคำตอบที่ได้ไปใช้ประโยชน์ คำอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม วิธีการตอบแบบสอบถามพร้อมตัวอย่าง ชื่อ และที่อยู่ของผู้วิจัย ประเด็นที่สำคัญคือการแสดงข้อความที่ทำให้ผู้ตอบมีความมั่นใจว่า ข้อมูลที่จะตอบไปจะไม่ถูกเปิดเผยเป็นรายบุคคล จะไม่มีผลกระทบต่อผู้ตอบ และมีการพิทักษ์สิทธิของผู้ตอบด้วย 2. คำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว โดยทั่วไปจะเป็นข้อมูลประเภท ลักษณะทางประชากรศาสาตร์ (Demographics) หรือ ปัจจัยส่วนบุคคล …
การสร้างแบบสอบถาม Read More »
รับคิดหัวข้อวิจัย ให้บริการ รับคิดหัวข้อวิจัย หัวข้อวิทยานิพนธ์ หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ การวิจัย หมายถึง กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคําตอบในการแก้ไขปัญหา โดยวิธีการที่เป็นระบบเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ โดยมีลําดับขั้นตอนในการวิจัยที่เริ่มจากการกําหนดปัญหาศึกษาเอกสาร ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กําหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการวิจัย สร้างเครื่องมือ เก็บรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและเขียนรายงานการวิจัย ให้บริการ รับคิดหัวข้อวิจัย ที่สามารถพัฒนาเชื่อมโยงไปสู่หัวข้อต่างๆ ของงานวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ได้จนสำเร็จ ประโยชน์ของการทําวิจัย 1. การวิจัยช่วยให้เกิดวิทยาการใหม่ๆ เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ 2. การวิจัยสามารถใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและยุติธรรม 3. การวิจัยจะช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น และสามารถใช้ทํานาย ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากกว่าการคาดคะเนแบบสามัญสํานึก 4. การวิจัยสามารถช่วยในด้านการกําหนดนโยบาย การวางแผนงาน การตัดสินปัญหาหรือการ วินิจฉัยสั่งการของผู้บริหารให้เป็นได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว 5. การวิจัยสามารถตอบคําถามที่ยังคลุมเครือให้กระจ่างชัดยิ่งขึ้น 6. การวิจัยจะช่วยกระตุ้นความสนใจของนักวิชาการ ให้มีการใช้ผลการวิจัยและทํางาน ค้นคว้าวิจัยต่อไป 7. การวิจัยจะทําให้ทราบข้อเท็จจริงต่าง ๆ …
รับคิดหัวข้อวิจัย หัวข้อวิทยานิพนธ์ Read More »
รับเขียนโครงร่างวิจัย ศูนย์บริการทำวิจัย รับวิเคราะห์ข้อมูลทุกโปรแกรม เชี่ยวชาญวิจัยคุณภาพและเขิงปริมาณ รับเขียนโครงร่างวิจัย โดยทีมวิจัยปริญญาเอกและโทหลายสาขา รับเขียนโครงร่างวิจัย โครงร่างวิทยานิพนธ์ สาขาบริหารธุรกิจ การเงิน การบัญชี การจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการโลจิสติกส์ โครงร่างวิจัยสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รปศ. บริหารการศึกษา โครงร่างวิจัยสาขานิเทศศาสตร์และสื่อสารมวลชน โครงร่างวิจัยสาขากฎหมาย (นิติศาสตร์) รับเขียนโครงร่างวิจัยทุกสาขา บริการรับจัดทำโครงร่างวิจัย ให้คำปรึกษาการเขียนโครงร่างวิจัย ทุกสาขา การวิจัย คือ กระบวนการค้นหาความรู้ ข้อเท็จจริง อย่างมีระบบ มีกฎเกณฑ์ในการรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์และแปลความข้อมูล เพื่อแสวงหาคําตอบ สําหรับคําถามหรือประเด็นการศึกษาที่ตั้งไว้ด้วยกระบวนการ อันเป็นที่ยอมรับ ในแต่ละสาขาวิชา ซึ่งในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ นิยมใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เพราะเชื่อว่าวิธีนี้มีความถูกต้อง เชื่อถือได้มากที่สุด โดยทั่วไปก่อนที่นักวิจัยจะทําการวิจัย จะต้องมีการวางแผนเกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการวิจัยไว้ ล่วงหน้า การเขียนโครงร่างการวิจัย (Research proposal) นอกจากจะทําให้ผู้วิจัยทราบขั้นตอนและ รายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของการวิจัยแล้ว ยังใช้เป็นเครื่องมือในการพิจารณาขออนุมัติทําวิจัย หรือขอทุน สําหรับวิจัยอีกด้วย เพื่อให้ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่า การวิจัยที่จะทํานั้นมีระเบียบวิธีการวิจัยที่ดี …
รับเขียนโครงร่างวิจัย Read More »
กระบวนการทำวิทยานิพนธ์ แนวคิดพื้นฐาน กระบวนการทำวิจัย ขั้นตอนการทำวิจัย กระบวนการทำวิทยานิพนธ์ วิจัยปริญญาโท วิจัยปริญญาเอก หรือ ดุษฎีนิพนธ์ กระบวนการทำวิทยานิพนธ์ กระบวนการทำวิทยานิพนธ์ มีความสำคัญยิ่งเพราะช่วยให้งานเสร็จเร็ว ได้ข้อสรุปส่งให้ผู้รับทำได้ไวและตรงประเด็น จากประสบการณ์รับทำวิทยานิพนธ์และรับติวให้นักศึกษามา การทำวิทยานิพนธ์มี 7 ขั้นตอนการทำวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้องดังนี้ 1. กำหนดชื่อเรื่องหรือ หัวข้อวิทยานิพนธ ์ : เป็นชื่อที่คุณสนใจ ถนัด และอยู่ในสาขาที่เรียน หากยังไม่ทราบ ให้ดูหัวข้อจาก วิทยานิพนธ์ที่รุ่นพี่ทำไว้แล้วให้ดูในบทที่ 5 ในส่วนของข้อเสนอแนะสำหรับ การทำวิทยานิพนธ์ครั้งต่อไป จะทำให้ทราบชื่อเรื่องที่น่าสนใจ และกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยตามชื่อเรื่องนั่นเอง ส่วนประโยขน์ที่คาดว่าจะได้รับจะเป็นการเขียนว่า เมื่อวิจัยเรื่องนี้แล้ว วิทยานิพนธ์ให้ประโยชน์อะไร กับใคร และเอาไปใช้ได้อย่างไร 2. ศึกษา วิทยานิพนธ์ ในอดีต: ขั้นตอนนี้เรียกว่า Literature Review หรือเรียกว่า ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยต้องศึกษาทฤษฎีซึ่งดูจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องที่เราศึกษา ดูว่ามีทฤษฎีอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง และศึกษางานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ที่มีคนทำไว้แล้ว ในหัวเรื่องที่เหมือนกันหรือคล้ายใกล้เคียงกัน 3. การกำหนด กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์ …
กระบวนการทำวิทยานิพนธ์ Read More »
วิจัย การเงิน วิทยานิพนธ์ การเงิน วิจัย การเงิน หรือ วิทยานิพนธ์ การเงิน เป็นการใช้กระบวนการทำวิจัย ทีเ่ป็นระบบระเบียบ มีขั้นตอนการทำวิจัยเช่นเดียวกันกับ การทำวิจัย สังคมศาสตร์ ทั่วไป โดยศึกษาหาข้อเท็จจริง เกี่ยวกับความสัมพันธ์ และ อิทธิพลของปัจจัย หรือ ตัวแปรทางการเงินต่างๆ เช่น การเงินองค์กร ทฤษฎีการลงทุน ตลาดการเงิน ตลาดทุน ปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง หรือการเคลื่อนไหวของตัวแปรที่ต้องการศึกษา เช่น ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ราคาหลักทรัพย์ ผลการดำเนินงาน อัตราส่วนทางการเงิน ต่างๆ เป็นต้น การวิจัยทางการเงิน เป็นเครื่องมือหนึ่งในการแสวงหาคำตอบ สำหรับปัญหาในศาสตร์ทางการเงินแขนงต่าง ๆ การวิจัยทางการเงิน การพัฒนาหัวข้อการวิจัยทางการเงิน การออกแบบทางการวิจัยทางการเงิน การนำเสนอผลการวิจัย ตลอดจนประเด็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณ ประเด็นการวิจัยทางการเงิน รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีต่อการวิจัยทางการเงิน ล้วนแล้วแต่เป็นขอบข่าย การทำวิจัยการเงิน ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ผู้วิจัยต้องมีเพื่อใช้เป็นฐานคิดในการดำเนินการวิจัยทางการเงิน ทั้งนี้ผลการวิจัยจะเป็นข้อมูลสำคัญในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา การกำหนดนโยบายและจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม อันจะนำไปสู่การพัฒนาภาคการเงินและประเทศในมิติที่เกี่ยวข้องได้อย่างยั่งยืน โครงสร้างหลัก ของการทำ …
วิจัยการเงิน Read More »
ดุษฎีนิพนธ์ทรัพยากรมนุษย์ วิจัยปริญญาเอก ทรัพยากรมนุษย์ การวิจัยทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Research) เป็นกระบวนการค้นคว้าหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาของบุคลากรในองค์กร การตรวจสอบขวัญกำลังใจ ความคิดเห็นของ พนักงานเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่การทางาน และสิ่งที่พนักงานต้องการ และคุณภาพชีวิต เป็นต้น เพื่อเพิ่มผลผลิตที่มากขึ้น มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ด้วยกระบวนการที่มีระบบ ดังนั้น กระบวนการทำวิจัย ดุษฎีนิพนธ์ทรัพยากรมนุษย์ วิจัยปริญญาเอก ทรัพยากรมนุษย์ จึงต้องมีการกำหนดตัวแปร และกรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านี้ เทคนิคการทำวิจัยปริญญาเอก เหล่านี้ ไม่ได้เรียงลำดับตาม กระบวนการทำวิจัย แต่เป็น องค์ประกอบที่สำคัญของการทำวิจัยปริญญาเอก การเลือกชื่อเรื่อง หรือ หัวข้อวิจัยที่น่าสนใจ การเลือกหัวข้อวิจัยหรือชื่อเรื่องวิจัยปริญญาเอก ชื่อเรื่องดุษฎีนิพนธ์ ควรกำหนดหัวข้อวิจัยในสาขาหรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง ศึกษา ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับฐานข้อมูลปริญญาเอก หรือฐานข้อมูลงานวิจัยที่ใช้ การใช้เทคนิคการทำวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Research Approach) การเลือกใช้แบบจำลองทางสถิติหรือเศรษฐมิติที่มีความซับซ้อนหรือเป็นการวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูง ยึดหลักอิทธิบาท4 กัดไม่ปล่อย รายงานความคืบหน้า หรือเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างสม่ำเสมอ บางหัวข้อ หรือ บางขั้นตอนจะต้องทำควบคู่กันไป สามารถทำไปแก้ไปได้ เพราะ ไม่ได้เรียงลำดับ ตามขั้นตอนแน่นอนตายตัวนัก …
ดุษฎีนิพนธ์ทรัพยากรมนุษย์ วิจัยปริญญาเอก ทรัพยากรมนุษย์ Read More »
วิจัยโลจิสติกส์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิจัยโลจิสติกส์ วิจัยโลจิสติกส์ งานวิจัยด้านโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ สาขาโลจิสติสก์ โลจิสติกส์ หรือ ลอจิสติกส์ (logistics) หมายถึง กิจกรรมที่มีการเคลื่อนย้าย จัดเก็บสินค้า วัสดุ วัตถุดิบ เอกสาร จากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง ในระยะเวลาชั่วคราวหรือระยะเวลายาวนาน โดยมีความพยายามในการจัดการกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ให้เกิดค่าใช้จ่ายโดยรวมต่ำที่สุด วิจัยโลจิสติกส์ จึงเกี่ยวข้องกับปัจจัยหรือ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ การทำงานวิจัยโลจิสติกส์ ผู้วิจัย สามารถเลือกศึกษาบางหัวข้อ ที่ถนัด หรือ มีความสนใจเป็นพิเศษ กระบวนการส่วนหนึ่งของ โลจิสติกส์ ในการขนส่ง ของการจัดการเท่านั้น ยังมีกิจกรรมอื่นๆ ที่เป็นอีกส่วนของการจัดการโลจิสติกส์ (logistics) อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น การจัดการคลังสินค้า , การกระจายสินค้า , การจัดการสินค้าคงคลัง , การบรรจุภัณฑ์ ,การรับส่ง , ข้อมูลต่างและระบบสารสนเทศต่างๆ เป็นต้น กิจกรรมหลักในการจัดการโลจิสติกส์ ในขอบข่ายการกระบวนการโลจิสติกส์ ประกอบด้วย งานบริการลูกค้า …
วิจัยโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ Read More »
งานวิจัย บริหารธุรกิจ วิทยานิพนธ์ MBA แนวคิดเกี่ยวกับการทำวิจัย สาขาบริหารธุรกิจ MBA เทคนิค งานวิจัย บริหารธุรกิจ วิทยานิพนธ์ ป.โท สาขาบริหารธุรกิจ การทำวิจัยบริหารธุรกิจ หรือ การวิจัยธุรกิจ หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนการค้นคว้าหาความรู้ ข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบมีเป้าหมายที่แน่นอน โดยนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อนำข้อมูลที่ค้นพบจากการวิจัยไปใช้ในการตัดสินใจ การสั่งการ การแก้ไขปัญหา การป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น หรือพัฒนาประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจตามวัตถุประสงค์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น งานวิจัย บริหารธุรกิจ หรือ วิจัย วิทยานิพนธ์ MBA จึงเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ข้างต้น ขอบข่าย งานวิจัย บริหารธุรกิจ 1. การวิจัยทางด้านการจัดการ (Management Research) การวิจัยทางด้านการจัดการ มุ่งเน้นการพิจารณากิจกรรมทางธุรกิจตามหน้าที่หรือกระบวนทางจัดการ ตั้งแต่ขั้นตอน การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การนำ (Leading) และการควบคุม (Controlling) รวมทั้งการวิเคราะห์กิจกรรมทางธุรกิจ จากกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ เช่น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การนำกลยุทธ์ …
งานวิจัยบริหารธุรกิจ วิทยานิพนธ์ MBA Read More »
การทำวิจัย รัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิค กระบวนการทำวิจัย วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ การทำวิจัย ในสาขารัฐศาสตร์ เป็นการศึกษาข้อเท็จจริง และมุ่งทำความเข้าใจกับปรากฎการณ์ทางการเมืองและสังคมที่แวดล้อมตัวเราอยู่ โดยจะอาศัยแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับปรัชญาและความคิดทางการเมืองต่าง ๆ เช่น รัฐธรรมนูญ รัฐสภา พรรคการเมือง การเลือกตั้งและปัญหาทางการเมือง และสังคมที่สำคัญ ๆ เช่น ธุรกิจกับการเมือง ทหารกับการเมือง การเมืองของผู้ใช้แรงงาน ชาวนา ฯลฯ 20 ไอเดีย หัวข้อวิจัยและวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ เหล่านี้ เรารวบรวมได้จากฐานข้อมูลที่เผยแพร่ในระบบอินเทอร์เน็ต ที่ผู้สนใจสามารถเข้าไปดูและใช้เป็นตัวอย่างการทำวิจัย ที่สอดคล้องกับความต้องการและความถนัดของตนดังนี้ 1 การจัดการระบบสารสนเทศด้านงบประมาณ งานคลังและพัสดุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ = Management of Information System for in the Tasks …
วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ Read More »
ต้องการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หาคนทำวิจัย อยู่ใช่ไหม? หากกำลังประะสบปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ ต้องการผู้ช่วยวิจัย หาคนทำวิจัย ที่มีความรู้ความสามารถ มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ งานวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ การทำวิจัยปริญญาเอก เฉพาะด้าน มีประสบการณ์ในการทำวิจัยมากกว่า 15 ปี ทั้งงานวิจัย วิทยานิพนธ์ Thesis ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation ในประเทศและต่างประเทศ เราคือ ผู้ให้บริการที่ปรึกษาวิจัย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ท่านสามารถไว้วางใจได้ รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับแก้ไขงานวิจัย แก้ไขวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ แบบที่ปรึกษาวิจัย / Thesis Consults & ผู้ช่วยวิจัย / Dissertation Assistance รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำวิจัยการเงิน วิจัยการศึกษา หาคนทำวิจัย ไม่ผิดหวัง ให้บริการช่วยเหลือ ที่ปรึกษา กระบวนการทำวิจัย ทุกขั้นตอน ตั้งแต่ กำหนดหัวข้อ ให้คำแนะนำ การทบทวนวรรณกรรม Literature Review สืบค้นข้อมูล ทฤษฎี …
หาคนทำวิจัย ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ Read More »
ระบวนการ ขั้นตอน คู่มือ วิทยานิพนธ์ คู่มือ วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์เป็นรายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัย ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างเป็นระบบ ละเอียด ลึกซึ้ง มีระเบียบวิธีวิจัย ที่ถูกต้อง ชัดเจน และเป็นผลงานวิชาการที่มีมาตรฐานระดับสูง ทำให้ผลงาน วิทยานิพนธ์ เป็นผลงานวิจัยที่สามารถเชื่อถือได้ สามารถให้องค์ความรู้ ข้อเท็จจริง ความคิด รวมไปถึงแนวทางการแก้ไขปัญหา และสามารถใช้ ผลงานวิทยานิพนธ์ เป็นส่วนหนึ่งของการวัดผล ความสำเร็จของการศึกษาในระดับปริญญาโท หรือมหาบัณฑิต ได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ วิทยานิพนธ์ คู่มือ วิทยานิพนธ์ โดยทั่วไปมีส่วนประกอบสำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนประกอบตอนต้น(Preliminaries) 2. ส่วนเนื้อเรื่อง (Content Part) 3. ส่วนประกอบตอนท้าย (Auxiliaries) จาก 3 ส่วนหลัก ดังกล่าว สามารถแบ่งเป็นองค์ประกอบ สำคัญย่อยอีก 5 ส่วนด้วยกัน คือ บทที่1 บทนํา บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง …
คู่มือ วิทยานิพนธ์ Read More »
เทคนิค วิทยานิพนธ์การจัดการทั่วไป หัวข้อวิจัย การจัดการทั่วไป แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ หัวข้อวิจัย การจัดการทั่วไป การจัดการ (Management) หมายถึง ภารกิจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคน (ที่เรียกว่า ผู้บริหาร) เข้ามาทำหน้าที่ประสานให้การทำงานของบุคคลที่ต่างฝ่ายต่างทำซึ่งไม่อาจประสบผลสารวจจากการแยกกัน ทำให้สามารถบรรลุผลได้ด้วยดี ซึ่งความสำคัญของการจัดการ จะประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดนั้นจำเป็นต้องมีกระบวนการจัดการที่ดี ดังนั้น หัวข้อวิจัย การจัดการทั่วไป หรือ วิจัย วิทยานิพนธ์ สาขา การจัดการจึงเกี่ยวข้องกับตัวแปรเหล่านี้ ตัวอย่าง เช่น มีการวางแผนและตัดสินใจโดยผ่านการกลั่นกรองจากฝ่ายจัดการที่ได้พิจารณาข้อมูลต่างๆ อย่างใช้ดุลพินิจ ซึ่งการจัดการเป็นเทคนิคที่สมาชิกในองค์กรเกิดจิตสำนึกร่วมกันในการปฏิบัติงาน มีความตั้งใจ เต็มใจช่วยเหลือให้องค์กรประสบความสำเร็จ โดยมีขอบเขตการำางานที่ไม่ซ้ำซ้อนกัน ทำให้มีการปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งจะต้องแสวงหา วิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน ให้องค์กรเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด การจัดการจะมีความสำเร็จหรือล้มเหลวหรือไม่ ขึ้นอยู่กับกิจกรรมและกระบวนการ ทางการจัดการ ถ้าหากเจ้าของกิจการหรือผู้ประกอบการละเลยหรือไม่สนใจ ปล่อยให้ทุกอย่างดำเนิน ไปตามมีตามเกิด หรือตามความเคยชิน จะทำให้ประสิทธิภาพงานตกต่่ำ ดังนั้น การปรับกิจกรรมให้ ตามทันกับสิ่งใหม่ ๆ …
หัวข้อวิจัย การจัดการทั่วไป Read More »
รับทำวิจัย วิจัยป.โท วิจัยป.เอก รับทำวิจัยด่วน แบบผู้ช่วยวิจัยและที่ปรึกษาการทำวิจัย ทุกขั้นตอน บริการ รับทำวิจัยด่วน รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำปริญญาเอก แบบที่ปรึกษาวิจัย ผู้ช่วยวิจัย ทุกขั้นตอน บริการรับทำวิจัย ป.โท ราคาไม่แพง สังคมศาสตร์ทุกแขนง โดยนักวิจัยมืออาชีพ ปริญญาเอกและปริญญาโทหลายสาขา เชี่ยวชาญการทำวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูล ประสบการณ์มากกว่า 15 ปี รับรองคุณภาพ แก้ไขงานไม่จำกัดจำนวนครั้ง รับทำวิจัย รับทำวิจัย ป.โท รับทำวิจัยด่วน ราคาไม่แพง รับทำ is รับทำปัญหาพิเศษ รับทำค้นคว้าอิสระ รับทำรายงาน รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำรายงาน วิจัย การเงิน วิจัย เศรษฐศาสตร์ วิจัย โลจิสติกส์ วิจัยรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ให้คำปรึกษา รับทำวิจัย บัญชี การบัญชี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี บริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ บริหารการศึกษา การจัดการภาครัฐ …
รับทำวิจัยด่วน Read More »
การทำวิทยานิพนธ์ วิจัยการเงิน หลักทรัพย์ แนวคิดพื้นฐาน ไอเดีย กระบวนการทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ สาขาการเงิน หัวข้อวิจัย วิจัยการเงิน หลักทรัพย์ วิจัยป.โท การเงิน นิสิต นักศึกษา ที่ศึกษาเล่าเรียน ในหลักสูตรด้านการเงิน ของคณะบริหารธุรกิจ หรือ คณะเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์การเงิน รวมไปถึงหลักสูตร วิทยาศาสตร์การเงิน วิศวกรรมการเงิน การที่จะทำวิจัยการเงินได้ ต้องมีความรู้ความเข้าใจต่อเนื้อหาสาระในหลักสูตที่เรียนอย่างละเอียดลึกซึ้ง ทั้งการเงินธุรกิจ การเงินองค์กร และความรู้เกี่ยวกับตลาดทุนและตลาดเงิน ก่อนเริ่มกำหนดชื่อเรื่องวิจัย ผู้วิจัยต้องสำรวจตัวเองว่าอยากทำหรือสนใจหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องอะไร หรืออาจจะทำงานอยู่ในเนื้อหาที่มีความถนัด เช่น ตราสารหนี้ หุ้นกู้ หลักทรัพย์ สินเชื่อ ฯลฯ วิจัยการเงิน หลักทรัพย์ เป็นหัวข้อที่ได้รับความนิยมสูงที่สุด สำหรับการทำวิจัยป.โท วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท สาขา การเงิน การทำวิจัยการเงินหากเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับตราสารทางการเงิน มักจะศึกษาเกี่ยวกับความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน และ ความผันผวน (Volatility) เช่น การศึกษาความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์กลุ่มท่องเที่ยวและสันทนาการ แนวคิดพื้นฐาน การทำวิจัยด้านการเงิน …
วิจัยการเงิน หลักทรัพย์ Read More »
รับวิเคราะห์ข้อมูล SPSS STATA EVIEW AMOS LISREL รับวิเคราะห์แบบสอบถาม พร้อมเขียนผลการศึกษา รับทำวิจัย บทที่4 บริการช่วยเหลือการทำวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) และ รับวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม รับวิเคราะห์แบบสอบถาม พร้อมเขียนผลการศึกษา รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำวิจัย บทที่4 ปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์ การเขียนงานดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย พร้อมเขียนผลบทที่4 เป็นปัญหาที่สำคัญมากประการหนึ่ง สำหรับนักวิจัย นิสิต นักศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ที่สามารถทำงานวิจัยผ่านสามบทเรียบร้อยแล้ว เก็บแบบสอบถาม (Questionnaire) หรือ เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ทุติยภูมิ (Secondary Data) ข้อมูลที่จัดเก็บ อยู่ในรูปอนุกรมเวลา (Time Series Data) เรียบร้อยแล้ว แต่ประสบกับปัญหาการวิเคราะห์ข้อมูล แม้ว่าจะได้พยายามอย่างสุดกำลัง สุดความสามารถ ที่จะพยายามเรียนรู้ ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับโปรแกรมสถิติ และ …
รับทำวิจัย บทที่4 Read More »
เทคนิค การทำAssignment ให้ประสบความสำเร็จ แนวคิดพื้นฐาน หลักการ การทำAssignment การทำAssignment มีเทคนิค เช่นเดียวกันกับการทำรายงานวิจัย การทำ coursework เพียงแต่อาจจะมีองค์ประกอบต่างๆ ใน assignment ที่ไม่สมบูรณ์แบบเหมือนกับการทำวิจัย หรือ การทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งบทความนี้จะนำเสนอแนวทาง ไอเดีย และเทคนิค การทำ assignment ให้ประสบความสำเร็จ ได้ในเวลาที่กำหนด การทำรายงาน Coursework Assignment ให้ประสบความสำเร็จ คือ สามารถส่งรายงานได้ทันเวลาและมีคุณภาพดี A+ ได่ไม่ยาก มีดังนี้ 1. ตั้งเป้าหมาย ตั้งเป้าหมาย และ มุ่งเน้นในเรื่องของความสำเร็จของ Assignment โดยจะต้องเริ่มตั้งแต่ได้รับมอบหมายให้ทำรายงานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผู้ทำรายงานจะต้องบริหารเวลาของการทำรายงานในแต่ละขั้นตอนให้ดี เพื่อให้รายงานสามารถทำได้สำเร็จลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด การตั้งเป้าหมายดังกล่าว อาจจะแบ่งตามความสำเร็จของรายงาน เช่น หากรายงานประกอบด้วยเนื้อหา 5 ส่วน ผู้ทำรายงานจะต้องพิจารณาเบื้องต้นว่าเนื้อหาในแต่ละส่วนควรจะต้องสำเร็จในระยะเวลาเท่าใด การตั้งเป้าหมายดังกล่าวเพื่อทำให้เรามีเป้าหมาย และมีความกดดันเล็กน้อย ทำให้ตื่นตัว ไม่เฉื่อยฉา หรือ ผลัดวันประกันพรุ่งไปเรื่อยๆ …
การทำ Assignment Read More »
งานวิจัยบริหารธุรกิจ ตัวอย่าง หัวข้อวิจัย หัวข้อวิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจ งานวิจัยบริหารธุรกิจ วิจัยป.โท บริหารธุรกิจ วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ การทำวิทยานิพนธ์ สาขาบริหารธุรกิจ งานวิจัยบริหารธุรกิจ สำหรับในหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หรือ MBA หากไม่ได้มีการกำหนดสาขาอย่างเป็นทางการ นักศึกษา สามารถเลือกทำ วิจัยบริหารธุรกิจ ได้อย่างค่อนข้างหลากหลาย ทั้ง การตลาด การเงิน การจัดการทั่วไป การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น ส่วนงานวิจัย สาขาการบัญชี จะต้องเป็นการเลือกเรียนเฉพาะทาง หรือ เฉพาะสาขา ด้านการบัญชี เท่านั้น 20 ตัวอย่าง งานวิจัย สาขา บริหารธุรกิจ 1 กระบวนการตัดสินใจของผู้ใช้รถยนต์นั่งส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานครต่อการซื้อยางรถยนต์ = Decision making process of consumers in Bangkok towards purchasing passenger car tires …
งานวิจัยบริหารธุรกิจ Read More »
การเลือก การตั้งชื่อ หัวข้อวิจัยด้านการขนส่ง แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย ไอเดีย กระบวนการทำวิจัย การเลือกชื่อ การกำหนด หัวข้อวิจัยด้านการขนส่ง วิจัยป.โท การขนส่ง โลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยด้านการขนส่ง การขนส่งสินค้า การลดต้นทุนการขนส่งสินค้า การจัดการการขนส่ง การขนส่ง (Transportation) หมายถึง “ การเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ ชิ้นส่วน ส่วนประกอบต่างๆ งานระหว่างทำ (Work in Process) และ สินค้าสำเร็จรูป โดยเป็นการเคลื่อนย้าย ไปยังกระบวนการผลิตขั้นต่อไป หรือ เคลื่อนย้ายไปให้ใกล้ผู้บริโภคขั้นสุดท้ายมากที่สุด ” โดยรวม หมายถึง การเคลื่อนย้ายคน (People) สินคัา(Goods) หรือบริการ (Services) จากตำแหน่งหนึ่ง ไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง ในกรณีของการเคลื่อนย้ายคนนั้น จะเป็นเรื่องของการขนส่ง ผู้โดยสารเสียเป็นส่วนใหญ่ ในบริบท ของหลักสูตรการจัดการการขนส่งนี้จะเน้นที่การขนส่ง สินค้าหรือบริการเป็นสำคัญ การบริหารจัดการการขนส่ง (Transport Management) การน้าองค์ความรู้ด้านการจัดการ …
หัวข้อวิจัยด้านการขนส่ง Read More »
แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิทยานิพนธ์สาขาการตลาด หัวข้อวิทยานิพนธ์การตลาด การทำวิจัยปริญญาโท สาขาการตลาด หัวข้อวิทยานิพนธ์การตลาด การทำวิจัยปริญญาโท สาขาการตลาด การวิจัยทางการตลาด (Market Research) คืออะไร? วิจัยตลาด คือ กระบวนการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้บริโภค เพื่อให้นักการตลาดสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาใช้สร้างโอกาสและกลยุทธ์ทางการตลาด และยังทำให้รู้ความเคลื่อนไหวในแวดวงธุรกิจ เช่น การทำโฆษณา การแบ่งส่วนตลาด การส่งเสริมการตลาด และการสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยทำให้เรารู้ว่าลูกค้าซื้อสินค้าและบริการที่ไหนและซื้ออย่างไร ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกและตัดสินใจซื้อของลูกค้า เหตุผลอะไรบ้างที่ทำให้ลูกค้าซื้อและไม่ซื้อสินค้าและบริการแต่ละอย่าง ทำให้นักการตลาดสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้เพื่อตอบสนองปัจจัยที่กลุ่มเป้าหมายต้องการได้ 15 ตัวอย่างสุดปัง หัวข้อวิทยานิพนธ์การตลาด 1 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อธุรกิจในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในการเลือกลงโฆษณาในนิตยสารแจกฟรี = Marketing mix factors affecting companies in Mueang Chiang Mai District toward advertising in free-copy magazines 2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่ออายุรแพทย์ประจำโรงพยาบาลในอำดภอเมืองเชียงใหม่ในการสั่งยากลุ่มเออาร์บี = Marketing …
หัวข้อวิทยานิพนธ์การตลาด Read More »
หัวข้อวิจัย การตลาด การเลือกชื่อเรื่อง หรือ หัวข้อวิจัย การตลาด ควรเริ่มจากการทำความเข้าใจเนื้อหาพอสังเขป เกี่ยวกับ การทำวิจัยตลาด ดังนี้ การวิจัยการตลาด หรือ Market Research เป็น กระบวนการสำรวจ (Survey) เก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้บริโภค เพื่อให้นักการตลาดสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาใช้สร้างโอกาสและกลยุทธ์ทางการตลาด ทำเป็น Marketing ต่างๆ เช่นการสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง, ปรับปรุงการบริการของ customer service, ออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น การทำวิจัยการตลาดจึงเป็นสิ่งสำคัญและช่วยในการทำธุรกิจเป็นอย่างมาก ดังนี้ การแก้ไขปัญหาหรือโจทย์ทางธุรกิจ เช่น วิธีการเพิ่มยอดขาย การตรวจสอบผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์ต่างๆ (Disaster Check) การตรวจสอบภาพลักษณ์ของสินค้า ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจและลดความเสี่ยง เพื่อให้ตรงต่อความต้องการของตลาด เช่น การนำเสนอสินค้าตัวใหม่ การทำโลโก้หรือบรรจุภัณฑ์ของสินค้า หรือแม้กระทั้งการทำโฆษณาหรือภาพยนตร์ ทำให้สามารถเข้าใจความต้องการของลูกค้า โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจการให้บริการจะต้องเข้าใจความต้องการของลูกค้าเพื่อตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างเหนือความคาดหมาย (Beyond Expectation) และ สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า Customer Experience 20 ตัวอย่าง หัวข้อวิจัย การตลาด …
หัวข้อวิจัย การตลาด Read More »
การทำวิจัยเกี่ยวกับการท่องเที่ยว หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์การท่องเที่ยว ความสำคัญ เทคนิค องค์ประกอบ และรายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับ การทำวิจัยด้านการท่องเที่ยว หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว และ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให้กับประเทศไทยมากเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศไทย หรือกว่าร้อยละ 10 ของผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product : GDP) สอดคล้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในระดับโลก ที่องค์การสหประชาชาติ ได้รายงานตัวเลขของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวว่ามีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจโลกอย่างมาก โดยมีมูลค่ามากกว่าร้อยละ 10 ของผลผลิตรวมทุกอุตสาหกรรม และยังสามารถสร้างตำแหน่งงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมากถึงร้อยละ 11.1 ของตำแหน่งงานรวมทั้งหมด นำไปสู่ การทำวิจัยด้านการท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์ด้านการท่องเที่ยว และ หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์การท่องเที่ยว ความหมาย ของการวิจัยทางการท่องเที่ยว (Research in Tourism) หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์การท่องเที่ยว การวิจัยทางการท่องเที่ยว หรือ การวิจัยด้านการท่องเที่ยว (Research in Tourism) หมายถึง …
หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว Read More »
เหตุผล ความจำเป็น ทำไมต้องทำวิจัย การทำวิจัย คืออะไร ? ก่อนที่เราจะไปที่คำถามว่า ทำไมต้องทำวิจัย ? ควรต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การทำวิจัยคือกระบวนการศึกษาหรือแสวงหาคำตอบโดยมีระบบระเบียบแบบแผนที่ชัดเจน น่าเชื่อถือและเที่ยงตรง ซึ่งปัญหานำวิจัยที่นำมาศึกษาหาคำตอบ จะต้องมีประโยชน์ต่องานทางด้านวิชาการ ทั้งนี้ การทำวิจัยโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น วิจัยของหน่วยงาน วิจัยในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย เช่น วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ รายงานการวิจัยของหน่วยงาน เป็นต้น ทุกประเภทมีพื้นฐานการทำวิจัยที่เหมือนกัน อาจจะต่างกันตรงที่ขอบเขตการวิจัย หรือรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ การวิจัย VS การทดลอง การวิจัย ไม่จำเป็นต้องเป็นการทดลอง แต่หารทดลอง เป็นประเภทหนึ่งของการทำวิจัย ซึ่งเป็นกระบวนทางวิทยาศาสตร์แบบหนึ่ง ใช้ศึกษาความเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่เกิดขึ้น ภายใต้เงื่อนไขหรือสถานการณ์ที่กำหนดไว้ เพื่อศึกษาว่าเงื่อนไขหรือสถานการณ์นั้นๆ เป็นสาเหตุที่แท้จริงของการเปลี่ยนแปลงตัวแปรดังกล่าวหรือไม่ โดยใช้วิธีการสังเกตและเปรียบเทียบความแตกต่างที่กิดขึ้น การทำวิจัย เริ่มต้นอย่างไร? นักศึกษาที่ต้องทำวิจัย หรือนักวิจัย ควรจะเริ่มต้นจาก การคิดหาปัญหาที่ต้องการหาคำตอบ เรียกว่า “ปัญหานำวิจัย” ซึ่งควรจะเป็นสิ่งที่ผู้วิจัยสนใจและถนัด เพราะอาจจะต้องอยู่กับงานวิจัยนั้นๆ หลายเดือนหรือหลายปี แต่ถ้าไม่สามารถตั้งปัญหานำวิจัยได้ อาจจะใช้วิธีค้นคว้าจากเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ ซึ่งจะทำให้รู้ถึงช่องว่างที่สามารถจะทำวิจัยได้ หรืออาจได้ไอเดียใหม่ๆ มาเป็นหัวข้องานวิจัยได้ …
ทำไมต้องทำวิจัย Read More »
หัวข้อวิทยานิพนธ์ การศึกษา แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิจัย หลักการ การเลือก หัวข้อวิทยานิพนธ์ การศึกษา ดุษฎีนิพนธ์ด้านการศึกษา วิจัยทางการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของวิจัยด้านสังคมศาสตร์ คือ ระเบียบวิธีการจัดการสืบค้นข้อมูลอย่างมีระบบ เพื่อค้นหาคำตอบของปัญหาวิจัย เกี่ยวกับตัวแปรทางการศึกษา และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการจัดการการศึกษา หัวข้อวิทยานิพนธ์ การศึกษา จึงเกี่ยวข้องกับตัวแปรต่างๆ เหล่านี้ การวิจัยทางการศึกษา (อังกฤษ: Educational research) เป็นการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบในสาขาการศึกษา การวิจัยอาจมีการใช้วิธีการและแง่มุมที่หลากหลายด้านการศึกษา เช่น การเรียนรู้ของผู้เรียน วิธีการสอน การฝึกหัดครูและพลวัตห้องเรียน ผู้วิจัยทางการศึกษาโดยทั่วไปแล้วเห็นด้วยว่าการวิจัยจะต้องเคร่งครัดและเป็นระบบ อย่างไรก็ตามมีการเห็นร่วมน้อยในประเด็นมาตรฐาน เกณฑ์และกระบวนการวิจัยที่แน่นอน ผู้วิจัยทางการศึกษาอาจใช้ศาสตร์หลายสาขาเข้ามาเกี่ยวข้องกับการวิจัย เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาและปรัชญา และเลือกใช้วิธีการวิจัยตามศาสตร์นั้น ๆ ได้ การวิจัยทางการศึกษา 1. การเลือกปัญหาการวิจัยที่มีผลกระทบ/สนใจ 2. การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษา 3. การเลือกรูปแบบวิธีวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูล 5. การเขียนรายงานผลการวิจัย 25 หัวข้อวิทยานิพนธ์ การศึกษา ทั้งระดับปริญญาเอก และปริญญาโท 1. การพัฒนาเกณฑ์สมรรถนะในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของผู้บริหารศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน / ประมา …
หัวข้อวิทยานิพนธ์ การศึกษา Read More »
หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง รัฐศาสตร เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับรัฐและสังคม การเมืองเปรียบเทียบแนวความคิด และระบบทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ก่อนที่จะไปถึงการเลือกชื่อ การเลือก หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง ควรพิจารณาลักษณะของสาขาย่อยๆ ในรัฐศาสตร์ ซึ่งแยกออกเป็นสาขาต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1.สาขาวิชาการเมืองการปกครอง การศึกษาในสาขานี้ มุ่งทำความเข้าใจกับปรากฎการณ์ทางการเมืองและสังคมที่แวดล้อมตัวเราอยู่ โดยจะเรียนเกี่ยวกับปรัชญาและความคิดทางการเมืองต่าง ๆ เช่น รัฐธรรมนูญ รัฐสภา พรรคการเมือง การเลือกตั้งและปัญหาทางการเมือง และสังคมที่สำคัญ ๆ เช่น ธุรกิจกับการเมือง ทหารกับการเมือง การเมืองของผู้ใช้แรงงาน ชาวนา ฯลฯ 2.สาขาการระหว่างประเทศ เป็นสาขาที่มุ่งทำความเข้าใจกับระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันนี้ความรู้ความเข้าใจในด้านนี้มีความสำคัญทั้งต่อภาครัฐบาลและภาคเอกชนเพราะแต่ละประเทศไม่ได้อยู่กันอย่างโดดเดี่ยว ความกินดีอยู่ดีของประชาชนในแต่ละประเทศ ความสำเร็จในธุรกิจการค้าองอาศัยความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายต่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ 3.สาขาบริหารรัฐกิจ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ การศึกษาในสาขานี้จะศึกษาเรื่องการบริหารและการจัดการในหน่วยงานและองค์การต่าง ๆ ภายใต้ภาวะแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงการศึกษาในสาขานี้จะเกี่ยวกับระบบราชการ และหน่วยงานของรัฐ ประเภทต่าง ๆ การบริหารบุคคล การคลัง …
หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง Read More »
หัวข้อวิทยานิพนธ์ รปศ หัวข้อวิจัยรปศ การศึกษาในสาขา รัฐศาสตร์จะเรียนเรื่องการเมือง การปกครอง การเข้าสู่อำนาจ การลงจากอำนาจ ส่วน รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องการบริหาร การบริหารภาครัฐทั้งหมด สำหรับ ประเทศไทยจะเรียนเรื่องการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น สาขาเอกย่อยๆ 1.นโยบายสาธารณะ 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3.องค์การและการจัดการ 4.กระบวนการยุติธรรม และยังเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับ Thailand 4.0 ประชาคมอาเซียน ทักษะทางด้านภาษาและเทคโนโลยีทางด้านไอที เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานของบัณฑิตในอนาคต ในบทความนี้จะนำเสนอ เนื้อหาโดยสรุป นิยาม ความหมาย เพื่อนำไปสู่ การเลือก การกำหนด หัวข้อวิทยานิพนธ์ รปศ หัวข้อวิจัยรปศ นโยบายสาธารณะเป็นขอบข่ายหนึ่งของ การศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งหมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำ หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐซึ่งได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำการกระทำที่ตามมาให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ด้วยการวางแผน การจัดทำโครงการ การกำหนด วิธีการบริหารหรือกระบวนการดำเนินงาน การปฏิบัติงานที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและความต้องการของประชาชน รัฐประศาสนศาสตร์ สามารถแนกเป็น 4 ลักษณะคือ กิจกรรมแห่งรัฐบาล ทางเลือกสำหรับการตัดสินใจของรัฐบาล แนวทางในการกระทำของรัฐบาล …
หัวข้อวิทยานิพนธ์ รปศ หัวข้อวิจัยรปศ Read More »
การศึกษาค้นคว้าอิสระ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย หัวข้อสำหรับ การศึกษาค้นคว้าอิสระ การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือ Independent Study (IS) หมายถึง การศึกษารูปแบบหนึ่งที่ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า วิจัย อย่างอิสระใน หัวข้อที่ตกลงกับอาจารย์ที่ปรึกษา นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนตามหลักสูตรปกติของ สถานศึกษา รับรองว่าผู้เรียนมีความสามารถเพียงพอที่จะศึกษาหัวข้อดังกล่าวได้ด้วยตนเอง รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าอิสระ 10 หัวข้อ การศึกษาค้นคว้าอิสระหรือIS ทัศนคติของประชาชนต่อภาวะผู้นำทางการเมืองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ทัศนคติของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเดือนแห่งการเฉลิมฉลองของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในกรุงเทพมหานคร การตัดสินใจในการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไทย พ.ศ. 2565 การลดเวลาการก่อสร้างเสาคอนกรีตในงานก่อสร้าง: กรณีศึกษาบริษัทก่อสร้างแห่งหนึ่ง ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการดำเนินนโยบายเมาไม่ขับในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการที่มีผลต่อการรับรู้และจดจําของร้าน สแตนด์บายอัส ลิมิเต็ด พาร์ทเนอร์ชิป การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น อำเภอเมืองเชียงใหม่จังหวัดเชียงใหม่ ทัศนคติของประชาชนในจังหวัดเพชรบุรีต่อการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลของนักการเมืองไทยในการจัดการการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ผลกระทบของการปรับปรุงเนื้อหาสื่อออนไลน์ต่อตัวชี้วัด: กรณีศึกษา เว็บไซต์ธุรกิจขายสินค้าออนไลน์และสื่อแห่งหนึ่ง ปัจัยแนวปฏิบัติการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงาน องค์กร/ธุรกิจสตาร์ทอัพ ในเขตกรุงเทพมหานคร 24 ตัวอย่างการค้นคว้าอิสระ ปีพ.ศ. 2564 การลดขั้นตอนการขออนุมัติงบประมาณภายในองค์กรด้วยระบบสารสนเทศ …
การศึกษาค้นคว้าอิสระ Read More »
การใช้STATA ข้อมูลอนุกรมเวลา การวิเคราะห์วิเคราะห์ข้อมูลด้วย STATA การใช้STATA ข้อมูลอนุกรมเวลา การใช้STATA ข้อมูลอนุกรมเวลา : โปรแกรม STATA เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์(Application) ที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นให้เหมาะกับงานวิจัยที่ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) ได้รับการยอมรับและถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ที่เป็นงานวิจัยทางการเงินและเศรษฐศาสตร์ ตลอดจนสามารถประยุกต์ใช้ในงานวิจัยอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี การใช้STATA ข้อมูลอนุกรมเวลา เป็นที่นิยมใช้แพร่หลายมากที่สุดโปรแกรมหนึ่ง การวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา ด้วยโปรแกรมSTATA ผู้ทำวิจัยต้องเริ่มศึกษาลักษณะของข้อมูลอนุกรมเวลาเสียก่อน เนื่องจากข้อมูลมีอยู่หลายประเภทหลายรูปแบบ และข้อมูลแต่ละประเภทจะมีข้อจำกัดในการ วิเคราะห์แตกต่างกันไป โดยเฉพาะข้อมูลประเภทอนุกรมเวลา ต้องมีการทดสอบปัญหาต่าง ๆ ของตัวแบบทางเศรษฐมิติ หรือ estimation and problem of econometrics models ผู้ทำวิจัยที่มีข้อจำกัดเรื่องความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐิมิติ มักจะมีปัญหาและตกม้าตายตั้งแต่ในขั้นตอนนี้ เพราะข้อมูลอนุกรมเวลาก่อนนำไปทดสอบตามแบบจำลองที่เลือกหรือกำหนดจะต้อง ทดสอบปัญหาของตัวแบบทางเศรษฐมิติก่อนเสมอ บางแบบจำลองต้องทดสอบปัญหาตัวแบบเบื้องต้นมากถึง 5 การทดสอบ หรือ 5 ปัญหา เรียกย่อๆ สำหรับนักวิจัยด้านเศรษฐมิติคือ ปัญหา autocor , multicol , hetero , normal …
การใช้STATA ข้อมูลอนุกรมเวลา Read More »
หัวข้อวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ไอเดีย เพื่อนำไปสู่ การเลือก หัวข้อวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิจัยทรัพยากรมนุษย์ ปริญญาโท การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management : HRM) หมายถึง กระบวนการตัดสินใจ และการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน เพื่อให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดที่จะส่งผลสำเร็จต่อเปูาหมายขององค์การ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การสรรหา การคักเลือก การฝึกอบรม และการพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน การจ่าค่าตอบแทน สวัสดิการ และ ผลประโยชน์เกื้อกูล สุขภาพ และความปลอดภัย พนักงานและแรงงานสัมพันธ์ การพัฒนาองค์การ ตลอดจนการวิจัยด้านทรัพยากรมนุษยวิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้น หัวข้อวิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ หรือ หัวข้อวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ จึงเกี่ยวข้องกับการทำวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม หรือวิธีการที่บุคคลหนึ่งกระทำต่อบุคคลหนึ่ง หรือ หลายบุคคล เพื่อให้งานนั้นสำเร็จ 10 หัวข้อวิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ หัวข้อวิจัยการจัดการทรัพยากรม ปัจจัยแนวปฏิบัติการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงาน องค์กร/ธุรกิจสตาร์ทอัพ ในเขตกรุงเทพมหานคร …
หัวข้อวิจัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ Read More »
วิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย ทฤษฎี เกี่ยวกับ การทำ วิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิจัยทรัพยากรมนุษย์ ปริญญาโท การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management : HRM) หมายถึง กระบวนการตัดสินใจ และการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน เพื่อให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดที่จะส่งผลสำเร็จต่อเปูาหมายขององค์การ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การสรรหา การคักเลือก การฝึกอบรม และการพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน การจ่าค่าตอบแทน สวัสดิการ และ ผลประโยชน์เกื้อกูล สุขภาพ และความปลอดภัย พนักงานและแรงงานสัมพันธ์ การพัฒนาองค์การ ตลอดจนการวิจัยด้านทรัพยากรมนุษยวิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ดังนั้น วิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ จึงเกี่ยวข้องกับการทำวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม หรือวิธีการที่บุคคลหนึ่งกระทำต่อบุคคลหนึ่ง หรือ หลายบุคคล เพื่อให้งานนั้นสำเร็จ 5 ประเด็นวิจัย วิทยานิพนธ์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ …
วิทยานิพนธ์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Read More »
วิทยานิพนธ์บัญชี แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิจัยด้านบัญชี วิทยานิพนธ์บัญชี ดุษฎีนิพนธ์การบัญชี วิจัยป.โท การบัญชี การทำค้นคว้าอิสระบัญชี ไม่ยากอย่างที่คิด การวิจัยทางการบัญชี หรือ วิทยานิพนธ์บัญชี เป็นการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีการเงิน การบัญชี บริหาร การสอบบัญชี การภาษีอากร ระบบสารสนเทศทางการบัญชี ธรรมาภิบาล และอื่นๆ เพื่อค้นหาหาข้อเท็จจริงด้วยระบบ อันมีระเบียบแบบแผนที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทางการบัญชี หัวข้อวิจัยบัญชี ที่ดี ต้องนำไปสู่การได้มาซึ่งความรู้หรือข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ องค์ประกอบหลักของการวิจัยทางการบัญชีจะต้องประกอบด้วย การกำหนดปัญหาในการทำวิจัย (Research question) วัตถุประสงค์ของงานวิจัย (Objective) การทบทวนวรรณกรรม (Literature review) ทฤษฎี (Theory) กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual framework) วิธีวิจัย (Research methods) การรายงานผลการวิจัย (Report and result) การให้ประโยชน์(Contribution) ข้อจำกัด และ งานวิจัยในอนาคต (Limitation/ Future research) …
วิทยานิพนธ์บัญชี Read More »
สมการโครงสร้าง โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง Structural Equation Model (SEM) แนวคิด นิยาม ความหมาย กระบวนการวิเคราะห์ สมการโครงสร้าง โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง Structural Equation Model (SEM) สมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling :SEM) เป็นวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยอาจวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่สังเกตได้ (Observed Variables) กับตัวแปรแฝง (Latent Variables or Unobserved Variables) หรือวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแฝงตั้งแต่สองตัวขึ้นไป สมการโครงสร้าง (SEM) มีชื่ออีกหลายชื่อ ได้แก่ Covariance Structure Analysis, Causal Modeling, LISREL (Linear Structural Equation Modeling), Latent Variable Analysis เป็นต้น คุณสมบัติที่สำคัญของ SEM SEM มีคุณสมบัติที่สำคัญ คือ ต้องเป็นสมการเส้นตรง …
สมการโครงสร้าง โมเดลสมการเชิงโครงสร้าง Read More »
วิทยานิพนธ์บริหารการศึกษา วิทยานิพนธ์การศึกษา แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย ไอเดีย วิทยานิพนธ์การศึกษา วิทยานิพนธ์การศึกษา หรือ การวิจัยทางการศึกษา คือ ระเบียบวิธีการจัดการสืบค้นข้อมูลอย่างมีระบบ เพื่อค้นหาคำตอบของปัญหาวิจัย เกี่ยวกับตัวแปรทางการศึกษา และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการจัดการการศึกษา การวิจัยทางการศึกษา (อังกฤษ: Educational research) เป็นการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบในสาขาการศึกษา การวิจัยอาจมีการใช้วิธีการและแง่มุมที่หลากหลายด้านการศึกษา เช่น การเรียนรู้ของผู้เรียน วิธีการสอน การฝึกหัดครูและพลวัตห้องเรียน ผู้วิจัยทางการศึกษาโดยทั่วไปแล้วเห็นด้วยว่าการวิจัยจะต้องเคร่งครัดและเป็นระบบ อย่างไรก็ตามมีการเห็นร่วมน้อยในประเด็นมาตรฐาน เกณฑ์และกระบวนการวิจัยที่แน่นอน ผู้วิจัยทางการศึกษาอาจใช้ศาสตร์หลายสาขาเข้ามาเกี่ยวข้องกับการวิจัย เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาและปรัชญา และเลือกใช้วิธีการวิจัยตามศาสตร์นั้น ๆ ได้ กระบวนการวิจัยด้านการศึกษา 1. การเลือกปัญหาการวิจัยที่มีผลกระทบ/สนใจ 2. การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษา 3. การเลือกรูปแบบวิธีวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูล 5. การเขียนรายงานผลการวิจัย 10 ตัวอย่าง หัวข้อวิจัยการศึกษา หัวข้อวิทยานิพนธ์การศึกษา ดุษฎีนิพนธ์การศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารกับมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครปฐม (Administrative behaviors and standards in child development center of local administration organization in Nakhonpathom) …
วิทยานิพนธ์การศึกษา Read More »
หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน หัวข้อวิจัย วิจัยชั้นเรียน แนวคิด พื้นฐาน นิยาม ความหมาย ตัวอย่าง งานวิจัยชั้นเรียน หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน หัวข้อวิจัย วิจัยชั้นเรียน นับว่าเป็นงานวิจัย ที่สำคัญต่อการจัดการเรียนการสอน เป็นอย่างยิ่ง เป็นเครื่องมือที่ครูอาจารย์สามารถใช้ เพื่อศึกษาปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอน ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการเทคนิคการสอนที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และ ยังสามารถเผยแพร่ ความรู้เทคนิค วิธีการแก้ปัญหา ที่ผู้วิจัยได้คิดค้นและทดลองแล้วนั้น ให้กับครูอาจารย์อื่นๆ ได้ใช้เป็นแนวทางแก้ไข หรือ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนได้ การวิจัยในชั้นเรียน เป็นการทำวิจัยไปพร้อมๆ กับการจัดการเรียนการสอน รูปแบบการทำวิจัยไม่เน้น รูปแบบการเขียนรายงานวิจัย ที่เป็นทางการมากนัก จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีสำหรับครูอาจารย์จะใช้ฝึกการทำวิจัย แบบเต็มรูปแบบ ได้เช่นกัน คณะผู้จัดทำจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทาง เทคนิควิธีการทำวิจัยในชั้นเรียนที่คณะกรรมการได้รวบรวมจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการด้านทำวิจัย และรวบรวมจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่มีประโยชน์นี้จะช่วยทำให้ผู้ที่สนใจอยากจะ ทำวิจัยในชั้นเรียน ใช้ศึกษาเป็นแนวทาง การทำวิจัยในชั้นเรียน ต่อไป การตั้งชื่อเรื่อง หรือ การเลือกหัวข้อวิจัยในชั้นเรียน หัวข้อวิจัย วิจัยชั้นเรียน ที่ดี ควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ …
หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน หัวข้อวิจัย วิจัยชั้นเรียน Read More »
การทำวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อง แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค และไอเดียสำหรับ การทำวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อง ในบทความนี้ ผู้เขียนจะไม่อธิบายถึงรายละเอียดของการทำวิทยานิพนธ์ ว่ามีองค์ประกอบสำคัญอะไร และอย่างไรบ้าง เนื่องจาก นักศึกษา และ นิสิต ที่เรียนมาถึงจุดที่จะต้องเริ่มทำวิทยานิพนธ์ จะต้องพอที่จะทราบเนื้อหาต่างๆ เหล่านี้มาพอสมควรแล้$