การทำวิจัยเศรษฐศาสตร์

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์

การทำวิจัยเศรษฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์

เคล็ดลับ เทคนิค การทำวิจัยเศรษฐศาสตร์  และ วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์

การทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิจัยสาขาเศรษฐศาสตร์ คือ การอาศัยกระบวนการทำวิจัย ที่เป็นระบบระเบียบ เพื่อให้สามารถเข้าใจกระบวนการทำงานของระบบเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากร พฤติกรรมผู้บริโภค รวมไปถึงโครงสร้างตลาดและพฤติกรรมการแข่งขัน   เพื่อใช้เป็นแนวทางการตัดสินใจด้านนโยบาย เพื่อพัฒนาทฤษฎีและแบบจำลองที่สามารถช่วยในการอธิบายปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ และเพื่อระบุแนวโน้มและรูปแบบในข้อมูลทางเศรษฐกิจ รวมไปถึง วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์เศรษฐศาสตร์ 

นอกจากต้องอาศัยพื้นฐานความรู้ แนวคิด ทฤษฎีด้านเศรษฐศาสตร์แล้ว  ผู้ทำวิจัยหรือนักศึกษา ในคณะหรือสาขา เศรษฐศาสตร์  จำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือสำคัญ สำหรับการทำวิจัยในสาขานี้คือ ทักษะหรือความชำนาญ และประสบการณ์ เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลประเภทอนุกรมเวลา (Time Series data) เช่น stata  eview หรือ limdep การทำวิจัยสาขาเศรษฐศาสตร์จึงเกี่ยวข้องทั้ง พื้นฐานความรู้ ทฤษฎี แนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์ และเครื่องมือที่ต้องใช้ ทั้งแบบจำลอง สถิติ คณิตศาสตร์ เศรษฐมิติ และโปรแกรมวิเคราะห์สำเร็จรูปต่างๆ 

ความรู้และความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวกับ แนวคิด ทฤษฎี และพัฒนาการต่างๆ ด้านทฤษฎีและแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์  เป็นพื้นฐานสำคัญ และจำเป็นที่สุดสำหรับการต่อยอดไปสู่การหาหัวข้อหรือชื่อเรื่อง สำหรับการทำวิจัย และมีความสำคัญมากกว่าความสนใจของนักศึกษา  กล่าวคือ  แม้ว่าจะมีความสนใจที่จะทำวิจัยเรื่องนั้นเรื่องนี้  แต่หากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีนั้นๆ  การทำวิจัยต่อให้สำเร็จจบเล่ม เป็นไปได้ยากและลำบากอย่างยิ่ง

การทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิจัยเศรษฐศาสตร์
การทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิจัยเศรษฐศาสตร์

นักวิจัยควรสำรวจพื้นฐานความรู้ของตนเองในเบื้องต้นก่อน ว่ามีความรู้หรือความถนัดเนื้อหาแนวคิด และทฤษเศรษฐศาสตร์ด้านใดเป็นพิเศษ  เช่น    ด้านเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ  ด้านเศรษฐศาสตร์การเงิน  ด้านตลาดทนและตลาดการเงิน เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ หรือ ทุนมนุษย์  เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ  เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ หรือ เศรษฐศาสตร์แรงงาน เป็นต้น

ทั้งนี้ การทำวิจัยในระดับ  วิทยานิพนธ์สาขาเศรษฐศาสตร์ เป็นการทำงาน วิจัยในสายสังคมศาสตร์  ที่มีความยากที่สุดเป็นอันดับต้นๆ  นักวิจัยหรือนักศึกษาที่กำลังทำวิจัย จะต้องอาศัย ทั้งพื้นฐาน ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์  ทั้ง เศรษฐศาสตร์จุลภาค  Micro  Economics , เศรษฐศาสตร์มหภาค  Macro Economics , รวมไปถึง เนื้อหาที่ประกอบ การทำวิทยานิพนธ์  เช่น  นโยบายสาธารณะ  ทฤษฎีตลาดทุน  ทฤษฎีตลาดเงิน  ความเสี่ยง และ อัตราผลตอบแทนในหลักทรัพย์ Risk and Return STOCK  ตราสารทุน  ตราสารหนี้เอกชน  พันธบัตรรัฐบาล  ความผันผวน  Volatility  การส่งผ่านความผันผวน  Volatility  Transmission  การบริโภคข้ามเวลา  การวิเคราะห์ ผลกระทบภายนอก  Externality Analysis

การทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ ยังรวมถึงเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ การเงินองค์กร  Corporate  Finance  การเงินธุรกิจ  Business  Finance  การวิเคราะห์งบการเงิน  Financial  Report  Analysis  ต้นทุนการผลิตระยะสั้น  ต้นทุนการผลิตระยะยาว  ทฤษฎีอุปสงค์  Demand  Theory  ทฤษฎีอุปทาน  Supply  Theory  อรรถประโยชน์  Utility  ความยืดหยุ่นของสินค้า และ บริการ  Elasticity

ตลอดจน หลักเศรษฐมิติตั้งแต่ระดับพื้นฐาน ระดับกลาง จนถึงระดับสูง  และโปรแกรมวิเคราะห์ที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมEVIEW และ STATA  รวมถึงโปรแกรม LINDEP ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลอนุกรมเวลาที่ดีมากเช่นกัน ยกตัวอย่าง

สำหรับเศรษฐศาสตร์ที่เรียนสาขาการเงิน เศรษฐศาสตร์การเงิน วิทยาศาสตร์การเงิน  วิศวกรรมการเงิน จะต้องมีความรู้ความเข้าใจทั้งการเงินธุรกิจ การเงินองค์กร และความรู้เกี่ยวกับตลาดทุนและตลาดเงิน  ก่อนเริ่มกำหนดชื่อเรื่องวิจัย ผู้วิจัยต้องสำรวจตัวเองว่าอยากทำหรือสนใจหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องอะไร หรืออาจจะทำงานอยู่ในเนื้อหาที่มีความถนัด  เช่น ตราสารหนี้ หุ้นกู้ หลักทรัพย์  สินเชื่อ ฯลฯ  การทำวิจัยการเงินหากเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับตราสารทางการเงิน มักจะศึกษาเกี่ยวกับความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน และ ความผันผวน (Volatility)  เช่น การศึกษาความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์กลุ่มท่องเที่ยวและสันทนาการ

เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ เป็นอีกสาขาหนึ่งที่สามารถทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ ได้ค่อนข้างกว้างขวางและหลากหลาย  สามารถทำในแนวทางของการเงิน  การจัดการ  การวิเคราะห์โครงการ  การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัท หรือ ขององค์กร ก็สามารถใช้เป็นหัวข้อหรือชื่อเรื่องในการทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ธุรกิจได้

อย่างไรก็ตาม  ต้องอาศัยพื้นฐานความรู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น  การวิเคราะห์หลักทรัพย์  การวิเคราะห์ความเสี่ยง  ความรู้ด้านตลาดการเงิน และ ตลาดทุน  ตลอดจนพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สถิติ และเศรษฐมิติพอสมควร

การทำวิทยานิพนธ์ด้านเศรษฐศาสตร์ การเลือก หัวข้อวิทยานิพนธ์ด้านเศรษฐศาสตร์  อาจจะมีความละเอียดลึกซึ้งกว่าการทำงานวิจัยระดับ การศึกษาอิสระ หรือ Independent  Study  การทำปัญหาพิเศษ  เนื่องจากหากพิจารณาที่จำนวนหน่วยกิต  งานวิจัยระดับวิทยานิพนธ์  จะมีจำนวนเครดิตมากถึง 12 หน่วยกิต  เท่ากับการเรียนรายวิชา ถึง 4 วิชา เป็นอย่างน้อย

ดังนั้น  การคาดหวังจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับคุณภาพของวิทยานิพนธ์  ย่อมมีสูงกว่า  ซึ่งหมายถึงความเข้มงวดกวดขัน  และการให้คำติชมงานวิทยานิพนธ์  จากกรรมการหลายท่าน บางหลักสูตรมี 3 ท่าน บางหลักสูตร มีกรรมการวิทยานิพนธ์ มากถึง 5 ท่าน ทำให้นักศึกษาต้องทำวิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ ให้มีคุณภาพเหมาะสมกับความคาดหวังดังกล่าว

อ้างอิง

  1. การเลือกหัวข้อวิจัยด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์
  2. หัวข้อทางการเงินที่น่าสนใจ

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย วิจัยเศรษฐศาสตร์ รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์