การใช้โปรแกรมSPSSในการวิเคราะห์Chi-square การใช้โปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห์ Chi-square
เทคนิค วิธีการ การใช้โปรแกรมSPSSในการวิเคราะห์Chi-square
ก่อนเข้าสู่ขั้นตอน การใช้โปรแกรมSPSSในการวิเคราะห์Chi-square ผู้วิจัยควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติทดสอบ Chi-square อย่างถูกต้องเสียก่อน ดังนี้
การทดสอบ Chi-square เป็นการทดสอบที่ไม่มีการอิงการแจกแจงของประชากร หรือมีชื่อเรียกในทางสถิติ คือ Nonparametric Statistics สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว (One – Sample X2 – Test) เป็นการทดสอบความถี่ที่สังเกตได้ (Observed Frequency : O) กับความถี่ที่คาดหวัง (Expected Frequency : E) ว่าแตกต่างกันหรือไม่? หรืออาจเรียกว่า “การทดสอบสมนัย (Goodness of fit)”
ตัวอย่าง เช่น โยนลูกเต๋าลูกหนึ่ง 120 ครั้ง ขึ้นหน้าต่างๆ (จดบันทึก) จงทดสอบว่าลูกเต๋านี้เที่ยงหรือไม่
2) กลุ่มตัวอย่างสอง หรือมากกว่าสองกลุ่ม เป็นการทดสอบสัดส่วนในสิ่งที่สนใจที่จะศึกษาของกลุ่มต่างๆ ว่าแตกต่างกันหรือไม่
การใช้โปรแกรม SPSS ในการวิเคราะห์ Chi-square มีขั้นตอนที่สำคัญดังนี้
- ทำการเลือก menu Analyze
- เลือก Descriptive statistics.
- เลือก Crosstabs.
- นำตัวแปร Ageใส่ในช่อง Row และ Time ใส่ในช่อง Column.
- Statistic เลือก Chi-square.
- คลิกเลือก OK
ขั้นตอนที่ 1 การเลือก menu Analyze
รูปที่1 แสดงข้อมูลตัวอย่าง
ขั้นตอนที่ 2 เลือก Descriptive statistics.
จากไฟล์ตัวอย่าง เราจะทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอายุ (Age) และ ช่วงเวลาการบริโภคกาแฟ(Time) เมื่อเปิดไฟล์ข้อมูลขึ้นมาแล้วจึงทำการกด analyse ดังรูปที่2
ขั้นตอนที่ 3 เลือก crosstab
รูปที่ 3 แสดงขั้นตอนการเลือก crosstab
ขั้นตอนที่ 4 นำตัวแปร Ageใส่ในช่อง Row และ Time ใส่ในช่อง Column.
รูปที่4 แสดงการเลือกตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ขั้นตอนที่ 5 Statistic เลือก Chi-square.
รูปที่ 5 แสดงการเลือกสถิติทดสอบ Chi-square.
ขั้นตอนที่ 6 คลิกเลือก OK
สรุป
สำหรับการทำวิจัยทั่วไปหรือการทำวิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณนั้น ในบางกรณีเป็นเรื่องยากอย่างยิ่งสำหรับการได้มาซึ่งข้อมูล เนื่องจากผู้ให้ข้อมูลไม่มีความต้องการหรือ ไม่สะดวกที่จะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว เช่น รายได้ต่อเดือน ผู้ให้ข้อมูลก็ไม่ต้องการให้ข้อมูล ผู้วิจัย จึงทำการกำหนดรายได้เป็นช่วง เพื่อให้ผู้ตอบข้อมูลได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น
อย่างไรก็ตาม การกระทำดังกล่าวจะทำให้รายละเอียดของข้อมูลน้อยลง หรือในบางครั้งข้อมูลที่นักวิจัยสนใจ หรือต้องการที่จะศึกษา อาจเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะนี้ ควรเลือกใช้สถิติที่มีความเหมาะสม คือ วิธีการทดสอบไคสแควร์(Chi-Square Test) ซึ่งเป็นเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้กับข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือข้อมูลเชิงปริมาณที่มีการกำหนด หรือการแบ่งข้อมูลออกเป็น ช่วงๆ และข้อมูลไม่จำเป็นต้องมีการแจกแจงแบบปกติ ข้อมูลและตัวเลขที่นำมาทดสอบไคสแควร์ เป็นความถี่ของแต่ละระดับของตัวแปรที่ต้องการศึกษา
ตัวอย่างการกำหนดสมมติฐาน สำหรับการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ ไคสแควร์
ตัวอย่างที่ 1
H0 : ความชอบเรียนคณิตศาสตร์เป็ นอิสระกับเพศ
H1 : ความชอบเรียนคณิตศาสตร์ไม่เป็ นอิสระกับเพศ
ตัวอย่างที่ 2
H0: ความรุนแรงของโรคกระเพาะอาหารไม่มีความสัมพันธ์กับกลุ่มเลือด
H1: ความรุนแรงของโรคกระเพาะอาหารมีความสัมพันธ์กับกลุ่มเลือด
ตัวอย่างที่ 3
H0: สถานะทางครอบครัวไม่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเพศของเด็กวัยรุ่น
H1: สถานะทางครอบครัวเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเพศของเด็กวัยรุ่น
ขอบคุณข้อมูลดีๆ THANK YOU FOR…
รับวิเคราะห์ข้อมูล SPSS, รับวิเคราะห์SPSS รับทำSPSS รับแปลผลSPSSTAG: รับวิเคราะห์ข้อมูลSPSS รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์SPSS รับทำวิจัยSPSS รับแปลผลSPSS จ้างทำSPSS
Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์
บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก
รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย รับวิเคราะห์SPSS รับวิเคราะห์ข้อมูลSPSS จ้างทำSPSS รับประมวลผลข้อมูล SPSS จ้างทำspss จ้างวิเคราะห์spss รับวิเคราะห์spss รับประมวลผลspss รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
ติดต่อ คุณจ็อบ Tel. 08-7008-1033 (ไลนและโทรศัพท์)
[email protected]
ปรึกษาการทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ โดยทีมวิจัย และ ที่ปรึกษา การทำวิทยานิพนธ์ ที่มีความรับผิดชอบที่สุด ทีมนักวิจัย ที่มีความรู้ความสามารถ เชี่ยวชาญการทำวิจัย หลายสาขาระดับปริญญาโทขึ้นไป ประสบการณ์ทำงานมากกว่า 15 ปี ให้คำปรึกษาตั้งแต่ การกำหนดหัวข้องานวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การแก้ปัญหาการคัดลอกงานวิจัย การกำหนดกรอบแนวคิดงานวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ แบบจำลอง การเขียนผลการศึกษา ไปจนถึงการอภิปรายผล และการตีพิมพ์บทความวิจัย