การทำค้นคว้าอิสระ

การทำสารนิพนธ์

การทำสารนิพนธ์ โดยทั่วไป การทำสารนิพนธ์ หรือ การทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS) คือ การศึกษาวิจัยอิสระโดยการค้นคว้าทำความเข้าใจกับความรู้นั้น ๆ แบบไม่จำกัดรูปแบบของการศึกษา กลั่นกรองความรู้เนื้อหาสาระที่มีผู้ศึกษาวิจัยไว้แล้ว นำมาสรุปใหม่ให้อยู่ในหัวข้อเรื่องเดียวกัน แต่มีเนื้อหาต่างกัน และ ศึกษาได้ง่ายกว่า ส่วนประกอบสำคัญ การทำสารนิพนธ์ สารนิพนธ์อาจแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบเนื้อ เรื่องและส่วนประกอบตอนท้าย ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนนี้ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เรียงลำดับตั้งแต่ปกไปจนถึงส่วนเนื้อเรื่อง โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ปกหรือปกนอก (Cover) นิสิตเป็นผู้เย็บเล่มและทำปกให้หลังจากที่สารนิพนธ์ ได้รับการประเมินจากอาจารย์นิเทศก์แล้วโดยให้ใส่ปกอ่อนด้วยวิธีไสสันทากาวบนแผ่นปกพิมพ์ข้อความต่าง ๆ ดังนี้ ชื่อสารนิพนธ์(หากยาวกว่าหนึ่ง บรรทัด พิมพ์ให้เป็นรูปสามเหลี่ยมหัวกลับ) ชื่อผู้ศึกษาค้นคว้าไม่ต้องมีค าน าหน้าชื่อ ยกเว้นกรณีมีบรรดาศักดิ์ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ราชทินนาม และไม่มีวุฒิทางการศึกษาใด ๆ ต่อท้าย ระบุว่าสารนิพนธ์/ นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร…..สาขาวิชา….. ชื่อสถาบัน เดือน ปี ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าเสนอสารนิพนธ์ 2. […]

การทำสารนิพนธ์ Read More »

การศึกษาค้นคว้าอิสระ

การศึกษาค้นคว้าอิสระ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย หัวข้อสำหรับ การศึกษาค้นคว้าอิสระ  การศึกษาค้นคว้าอิสระ หรือ Independent Study (IS) หมายถึง  การศึกษารูปแบบหนึ่งที่ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า วิจัย อย่างอิสระใน หัวข้อที่ตกลงกับอาจารย์ที่ปรึกษา นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนตามหลักสูตรปกติของ สถานศึกษา รับรองว่าผู้เรียนมีความสามารถเพียงพอที่จะศึกษาหัวข้อดังกล่าวได้ด้วยตนเอง รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าอิสระ 10 หัวข้อ การศึกษาค้นคว้าอิสระหรือIS  ทัศนคติของประชาชนต่อภาวะผู้นำทางการเมืองของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ทัศนคติของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเดือนแห่งการเฉลิมฉลองของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในกรุงเทพมหานคร  การตัดสินใจในการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคเพื่อไทย พ.ศ. 2565  การลดเวลาการก่อสร้างเสาคอนกรีตในงานก่อสร้าง: กรณีศึกษาบริษัทก่อสร้างแห่งหนึ่ง  ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการดำเนินนโยบายเมาไม่ขับในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา  การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการที่มีผลต่อการรับรู้และจดจําของร้าน สแตนด์บายอัส ลิมิเต็ด พาร์ทเนอร์ชิป  การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น อำเภอเมืองเชียงใหม่จังหวัดเชียงใหม่  ทัศนคติของประชาชนในจังหวัดเพชรบุรีต่อการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลของนักการเมืองไทยในการจัดการการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19  ผลกระทบของการปรับปรุงเนื้อหาสื่อออนไลน์ต่อตัวชี้วัด: กรณีศึกษา เว็บไซต์ธุรกิจขายสินค้าออนไลน์และสื่อแห่งหนึ่ง  ปัจัยแนวปฏิบัติการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงาน องค์กร/ธุรกิจสตาร์ทอัพ ในเขตกรุงเทพมหานคร  24 ตัวอย่างการค้นคว้าอิสระ ปีพ.ศ. 2564  การลดขั้นตอนการขออนุมัติงบประมาณภายในองค์กรด้วยระบบสารสนเทศ

การศึกษาค้นคว้าอิสระ Read More »

การทำงานวิทยานิพนธ์

การทำงานวิทยานิพนธ์ หรือ วิจัยปริญญาโท  วิจัยระดับมหาบัณฑิต การสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท หรือ มหาบัณฑิต จำเป็นต้องผ่าน การทำงานวิทยานิพนธ์ หรือ วิจัยระดับปริญญาโท  และอาจเรียกชื่อต่างกันไปตามโครงสร้างหลักสูตรที่คณะและสถาบันการศึกษานั้นๆ กำหนด เช่น ภาคนิพนธ์ สารนิพนธ์  โปรเจค  ค้นคว้าอิสระ (Independent Study : IS) ปัญหาพิเศษ หรือ  ปริญญานิพนธ์  เป็นต้น ความหมายการทำวิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ มีกระบวนการหรือรูปแบบการทำงานไม่แตกต่างจากการทำวิจัยทั่วไป  วิทยานิพนธ์ (Thesis หรือ Dissertation) หมายถึง เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างละเอียดและรอบคอบ โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ตามแบบแผนและลําดับ  ขั้นตอน ของวิธีการวิจัยนั้น ๆ ประกอบด้วย ความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะอย่างมีเหตุผลและมีหลักเกณฑ์ โดยมุ่งให้ผู้ทําวิทยานิพนธ์ รู้จักวิธีการศึกษาค้นคว้าอย่างมีเหตุผล มีระบบและสามารถรายงานผลของการศึกษาได้โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องและรัดกุม เป็นการทําวิจัยเพื่อเสนอรับปริญญาในลำดับต่อไป เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์ ขั้นตอนต่างๆ  สำหรับการทำวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอนี้  เป็นขั้นตอนสำคัญ ซึ่งหากผู้ทำวิทยานิพนธ์  มีการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอน และมีระบบระเบียบ 

การทำงานวิทยานิพนธ์ Read More »

วิทยานิพนธ์ และ ค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์/ภาคนิพนธ์ เลือกอะไรดี

ความแตกต่าง วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์  มีนักศึกษาจำนวนมาก ที่ยังมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการศึกษาในระดับปริญญาโท เกี่ยวกับการเลือกเรียนระหว่างแผน ก กับ แผน ข  ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การทำ วิทยานิพนธ์และค้นคว้าอิสระ ซึ่งไม่เข้าใจว่าการเรียนทั้งสองอย่างนี้  มีความแตกต่างกันอย่างไร และแผนไหนจะตรงกับวัตถุประสงค์ที่นักศึกษาต้องการ หรือเหมาะสมกับตัวเองมากกว่า ดังนั้น บทความนี้เราขอนำความประมวลความรู้และความคิดเห็น จากหลายๆ แหล่ง เพื่อให้ผู้สนใจได้อ่านและพิจารณาถึงความเหมือน และความแตกต่างของการเรียนในทั้งสองหลักสูตรนี้  เพื่อใช้เป็นเป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจเบื้องต้น สำหรับการวางแผนการศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หรือ ระดับมหาบัณฑิต ความแตกต่าง วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ เป็นอย่างไร วิทยานิพนธ์และค้นคว้าอิสระ  แผน ก. (วิทยานิพนธ์) และ แผน ข (ค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์/ภาคนิพนธ์/ปัญหาพิเศษ) ความแตกต่าง วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ สำหรับการเรียน หลักสูตรในแผน ก เป็นการเรียนการศึกษาสำหรับหลักสูตรที่มี การทำงานวิจัย เป็น “วิทยานิพนธ์” (12 หน่วยกิต) โดยมุ่งเน้นทักษะของการทำวิจัยเต็มรูปแบบ  ซึ่งเหมาะสำหรับนักศึกษาที่มีความประสงค์ที่จะนำผลการวิจัยไปใช้ในการพัฒนางานในหน้าที่   รวมถึงเพื่อเตรียมตัวสำหรับการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นหรือในระดับดุษฎีบัณฑิต หรือ

วิทยานิพนธ์ และ ค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์/ภาคนิพนธ์ เลือกอะไรดี Read More »

เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์

เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์ แนวคิดพื้นฐาน เคล็ดลับ เทคนิคการทำวิทยาินพนธ์ การทำวิจัยปริญญาโท และผลงานวิชาการ ให้สำเร็จทันเวลา การทำเอกสารทางวิชาการมีอยู่หลากหลายรูปแบบ หลากหลายประเภท  เป็นไปตามรูปแบบและลักษณะของการจัดแบ่งผลงานทางวิชาการของแต่ละแห่ง  แต่หากทำการแบ่งประเภทของการเขียนผลงานวิชาการ  สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ งานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์  รายงาน และ บทความเอกสารทางวิชาการ ซึ่งแต่ละประเภท จะมี เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์  เคล็ดลับการทำวิจัย ที่มีความเหมือนและแตกต่างกันบางประการ “การทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์หรือดุษฎีนิพนธ์  ผู้ทำงานจะต้องทราบว่าเรากำลังทำงานในสิ่งที่ผู้อ่านหรือผู้ตรวจงาน/กรรมการ มองว่าเราคือผู้เชี่ยวชาญหรือมีประสบการณ์งานชิ้นนั้น” ประโยคนี้เป็นสิ่งที่สามารถระบุ “แก่นแท้” ของการทำวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ที่ผู้ทำ จะต้องตระหนักและเข้าใจว่าสิ่งที่กำลังดำเนินการอยู่ ไม่ว่าจะเป็น การทำวิทยานิพนธ์  การทำดุษฎีนิพนธ์ รวมไปถึง การทำสารนิพนธ์ ภาคนิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าอิสระ  ล้วนแล้วแต่ต้องยึดหลักการดังกล่าวนี้เช่นกัน  นั่นคือ  เราต้องแสดงด้วยการเขียนหรือทำงานวิจัยทั้งฉบับนั้น เพื่อแสดงให้เห็นว่าเราเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ และความเข้าใจ เกี่ยวกับหัวข้อวิจัย หัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์ นั้นๆ อย่างแท้จริง  ซึ่งต้องอาศัยองค์ประกอบที่สำคัญหลายประการ  และได้มาด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเท และกระบวนการทำงานที่ถูกต้อง ตรงตามหลักวิชาการ

เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์ Read More »