การอภิปรายผลการวิจัย
แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย การอภิปรายผลการวิจัย การอภิปรายผลการศึกษา การเขียนอภิปรายผลการวิจัยให้น่าอ่าน
การอภิปรายผลการวิจัย คือ การแปลผลการศึกษา หรือ ข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัย ด้วยการเรียบเรียงในรูปแบบและลักษณะตีความและประเมินผล เพื่ออธิบายและยืนยันความสอดคล้องและความแตกต่างระหว่างข้อค้นพบกับสมมติฐานการวิจัย และ อภิปรายเพื่อเชื่อมโยงระหว่างผลการวิจัยที่ได้กับผลการวิจัยที่ผ่านมา ตลอดจนแนวคิด ทฤษฏีที่ใช้เป็นกรอบ ความคิดในการวิจัยว่ามีความสอดคล้อง หรือขัดแย้งกันอย่างไร
การอภิปรายผลการวิจัย เป็นขั้นตอนที่สำคัญ เนื่องจากเป็นการประเมินผลการวิจัย เพื่อเป็นการให้เหตุผลยืนยันว่า ผลการวิจยัที่ได้น่าเชื่อถือ ถูกต้องและเป็นจริง โดยชี้แจงหรือแสดงให้เห็นว่า ข้อค้นพบ หรือ การวิจัยนั้นมีความสอดคล้องกับ สมมติฐานการวิจัย ตรงตามขอ้เท็จจริงที่พบ โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฏีและผลการวิจัยคนอื่น และ ผลการวิจัยนี้เป็นไปตามแนวความคิด ทฤษฏีอะไรบา้ง
ตลอดจนมีความขัดแย้งหรือไม่ หากไม่มีข้อขัดแย้ง จะตอ้งอธิบายเหตุผลและหาข้อสนับสนุน ชี้แจงความเป็นไปได้ของผลการวิจัยนั้น การเขียนอภิปรายผลนี้ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้วิจัย ได้แสดงถึงความสามารถ หรือ ทักษะเชิงการวิพากย์วิจารณ์ เพื่ออธิบายงานวิจัยของตน ให้ผู้อ่านได้เข้าใจ ด้วยเหตุนี้ การเขียนให้ผู้อ่านเข้าใจได้โดยง่าย และน่าอ่าน จึงเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็น
หลักการสำคัญการอภิปรายผลการวิจัย
การอภิปรายผลการวิจัยเป็นการประเมินหรือขยายความผลการวิจัย เพื่อ
– ยืนยันว่าผลการวิจัยที่ได้น่าเชื่อถือ ถกต้อง เป็นจริง
-มีการแสดงให้เห็นว่า ผลการวิจัยสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย
-ตรงตามข้อเท็จจริงที่พบ ตรงตามแนวคิด ทฤษฎีและผลการวิจัย ของงานวิจัยอื่นๆ หรือ งานวิจัยในอดีต หรือไม่ อย่างไร
– ผลการวิจัยนั้น เป็นไปตามแนวคิด ทฤษฎีอะไรบ้าง รวมถึง มีข้อขัดแย้งอย่างไร หรือไม่ ถ้ามีความขัดแย้งจะต้องอธิบายเหตุผลและหาข้อมูลสนับสนุน
-แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของผลการวิจัย นั้นๆ
รูปแบบการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัย มีประเด็นที่น่าสนใจนา มาอภิปรายผล ดงัน้ี
แบบที่1 ให้นำการอธิบายเหตุผล หลังสรุปผลการวิจัย
1. กรณีสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
..(ผลการวิจัย)……………สอดคล้องกับ สมมติฐานการวิจัย ที่ตั้้งไว้ เพราะ/ อาจเป็นเพราะ …. (อธิบายเหตุผลที่น่าเชื่าอถือ ลักษณะของการเกิดผลการวิจัยดังกล่าว ด้วยการอ้างอิงถึงทฤษฎี ที่มีการกล่าวถึงความสำคัญ ของผลการวิจัย รวมไปถึงความจำเป็นสำหรับการทำวิจัยเพิ่มเติม….สอดคล้องกับผลการวิจัยของ….(ยกงานวิจัยที่สอดคล้องกับ ผลการวิจัยเท่านั้้น มาเขียนเป็นผลกาารศึกษาบทที่2 หัวข้องานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. กรณีไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
..(ผลการวิจัย)……………ไม่สอดกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ เพราะ / อาจเป็นเพราะ…. (อธิบายเหตุผลที่น่าเชื่อถือกับลักษณะที่เกิดผลการวิจัยดังกล่าว มีการอ้างอิงตามทฤษฎี ความสำคัญของผลการวิจัย ตลอดจน ความจำเป็นสำหรับการทำวิจัยเพิ่มเติม)…..สอดคล้องกับผลการวิจัยของ…………….(ยกงานวิจัยในอดีต ที่สอดคล้องกับผลงานวิจัย จากการเขียนบทที่ 2 หัวข้องานวิจัยที่เกี่ยวข้อง)
แบบที่2 ให้นพการอธิบายความสอดคล้องกับ ผลการวิจัย หลังสรุปผลการวิจัยนั้น
1. กรณีสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
..(ผลการวิจัย)……………สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
สอดคล้อง กับ ผลงานวิจัยของ …..(ยกงานวิจยัที่สอดคล้องกับผลการวิจัย หรือที่ศึกษาเท่านั้น มา เขียจากบทที่2 หั้วข้อ งานิวจัยที่เกี่ยวข้อง) ……….. ทั้งนี้เพราะ / อาจเป็นเพราะ … (อธิบายเหตุผลที่น่าเชื่อถือ ลักษณะที่เกิดผลดังกล่าว มีการอ้างทฤษฎีกล่าวถึงความสำคัญ ของผลการวิจัยและความจำเป็นสำหรับผลการศึกษานั้นๆ
2. กรณีไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
..(ผลการวิจัย)……………ไม่สอดคลอ้งกบั สมมติฐานที่ตั้งไว้.้. สอดคลอ้งกบัผลงานวิจยัของ …..
(ยกงานวจิยัที่สอดคลอ้งกบัผลการวจิยัหรือศึกษาเท่าน้นั มาเขียนจากบทที่2 หวัขอ้งานวิจยัที่เกี่ยวขอ้ง)….. ทั้งนี้
เพราะ/อาจเป็นเพราะ …(อธิบายเหตุผลที่น่าเชื่อถือลกั ษณะที่เกิดผลดังกล่าว มีการอา้งอิงทฤษฏีกล่าวถึง
ความสำคัญของผลการวิจัย และความจำเป็นสำหรับการวจิยัเพิ่มเติม)…
การเขียนอภิปรายผลให้น่าอ่าน
การอภิปรายผลที่ดีต้องสามารถสื่อสารให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย โดยการเรียงล าดับข้อมูลใน องค์ประกอบต่าง ๆ ใหครบถ้วน และเขียนเป็น ลำดับ ขั้นตอน ให้อ่านได้ง่าย มีดังนี้
1. ไม่ควรอภิปรายผลจากผลการวิจัยทั้งหมด ควรเลือกเฉพาะสิ่งที่เราสนใจ หรือเป็นสิ่งสำคัญ ในแต่ละประเด็น สำหรับการอภิปรายผลในเชิงลึกในแต่ละดา้น
2. ควรเริ่มตน้อภิปรายผลด้วยผลการวิจัยเชิงปริมาณ และตามด้วยผลการวิจัยเชิงคุณภาพ
3. ควรใหเ้หตุผลร้อยเรียงกันไปอย่างสละสลวย และมีการอา้งอิงผลงานวิจัย ของผู้อื่นหรืองานวิจัยอื่นๆ ในแต่ละประเด็น อย่างน้อย 3 งานวิจัย
เคล็ดลับความสําเร็จ การอภิปรายผลการวิจัย
1. การเขียนต้องอาศัยเนื้อหาใหม่ๆที่ทันสมัยดังนั้น การทบทวนวรรณกรรม หรืองานวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่ควรเกิน 5-10 ปี
2. เขียนใช้สํานวนตนเองเป็ นภาษาเขียน มีความสอดคล้อง เขียนแล้วอ่านเข้าใจไหม
3. พยายามจัดลําดับเนื้อหาให้กลมกลืนไปด้วยกัน ให้เหตุผล มีข้อโต้แย้งอื่นไหมตามงานวิจัย เขียนให้ มองเห็นประเด็นชัดเจน
4. ในการอภิปรายผลต้องอ่านงานวิจัยและแนวคิด ทฤษฎีมากๆ เพื่อนํามาอภิปรายผล
5. ผลการวิจัยไม่จําเป็นต้องสอดคล้องกับของผู้อื่น ข้อมูลมีและไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (Sig &ไม่Sig) ไม่ต้องตกใจให้ย้อนกลับไปดู Methodology(การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล) ถ้าทําดีแล้วให้มั่นใจในผลการวิจัยครั้งนี้ เสน่ห์ของข้อค้นพบที่ฉลาด(Smart) มากไม่เป็นไปตามงานวิจัยก็ได้ หรือ ขัดแย้งกับทฤษฎี บอกเหตุผลข้อค้นพบนี้ให้ได้
อ้างอิง
- รับทำวิจัย
- เทคนิคการทำวิจัย
- ระเบียบวิธีวิจัย
- ตัวอย่างการทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ
- หลักจริยธรรมการวิจัย
- วิธีการหลีกเลี่ยงการขโมยความคิด
- ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม
- การทำวิจัยรัฐประศาสนศาสตร์
- ระเบียบวิธีวิจัยด้านรัฐประศาสนศาสตร์
- เทคนิคการทำวิจัย
- ข้อมูลอนุกรมเวลา
Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย รับวิเคราะห์SPSS รับวิเคราะห์แบบสอบถาม