รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา 

รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา 

รับวิเคราะห์ข้อมูล  รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา รับวิเคราะห์งบการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน ปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ตลาดหลักทรัพย์ อัตราส่วนทางการเงิน

บริการด้านการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล โดยมืออาชีพประสบการณ์ 15 ปี รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series datas) รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์ข้อมูลจากงบการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลจากตลาดทุน ตลาดการเงิน หลักทรัพย์ ตราสารหนี้ ตราสารทุน โดยใช้โปรแกรมที่เกี่ยวข้องและมีประสิทธิภาพ เช่น SPSS  STATA  EVIEW

การวิเคราะห์อนุกรมเวลา เป็นเทคนิคทางสถิติที่ภาครัฐบาลและภาคธุรกิจ สามารถนำไปใช้พยากรณ์ค่าของตัวแปรที่สนใจได้ เช่น ภาคธุรกิจ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาในการพยากรณ์ยอดขาย ภาครัฐบาลใช้เทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อ ช่วงหลายสิบปี ที่ผ่านมา นักเศรษฐมิติ ก็ได้มีการวิจัยและพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาให้ลึกซ้ึงมากข้ึนเรื่อย ๆ เพื่อจะนำไปประยุกต์ใช้กับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ หรือทฤษฎีทางธุรกิจและการเงินได้มีประสิทธิภาพ และถูกตอ้งมากยิ่งขึ้น

เราจะเห็นว่ามีงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเงินนำเทคนิค การวิเคราะห์อนุกรมเวลามาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย  ด้วยเหตุนี้ นักศึกษา ผู้วิจัย หรือ นักวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการเงิน ควรืำความเข้าใจถึงเทคนิคการวิเคราะห์อนุกรมเวลาให้ถูกต้อง เพื่อที่จะนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องที่สุด

รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา
รับวิเคราะห์ข้อมูล รับวิเคราะห์แบบสอบถาม รับวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา

 

รับวิเคราะห์ข้อมูลประเภทอนุกรมเวลา

รับวิเคราะห์ข้อมูลประเภทข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) เช่น ข้อมูลงบการเงิน งบดุล งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด อัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio) ข้อมูลปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค เช่น อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม ดัชนีราคาผลผลิต เป็นต้น  รับวิเคราะห์ข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์ ตลาดการเงิน ตลาดทุน เช่น ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ ดัชนีราคาหลักทรัพย์รายอุตสาหกรรม หลักทรัพย์/ หุ้น  ตราสารหนี้ ตราสารทุน ทั้งหลักทรัพย์ในประเทศและต่างประเทศ

การวิเคราะห์อนุกรมเวลา เป็นวิธีที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือค่าสังเกตที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปตามล าดับเวลาที่เกิดขึ้น หรือการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรในช่วงเวลาที่ผ่านไป ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงอาจมีหรือไม่มีรูปแบบก็ได้ แต่ถ้าอนุกรมเวลาแสดงให้เห็นรูปแบบ การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาที่ผ่านมาในอดีต ก็จะทำให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าในช่วงเวลาที่ผ่านมาในอดีต ก็จะทำให้สามารถคาดการณ์ไดว่า ในอนาคตลักษณะการเปลี่ยนแปลงควรอยู่ในรูปแบบใด และสามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลในอนาคตได้ การวิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา จะขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของเวลาในอดีตเป็นพื้นฐาน

อนุกรมเวลา คือเซตของข้อมูลเชิงปริมาณ ที่มีการจดัเก็บในช่วงเวลาที่ติดต่อกัน ส่วนข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) คือ ชุดของข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมตามระยะเวลาที่ติดต่อกันอย่างเป็นระบบ  โดยทั่วไป ข้อมูลกนุกรมเวลา จะประกอบด้วย องค์ประกอบ 4 ส่วนที่สำคัญ คือแนวโนม้ (Trend:
T), ฤดูกาล (Seasonal: S), วัฏจักร (Cycle: C) และเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือเหตุการณ์ความไม่แน่นอน (Irregular: I)

สำหรับรูปแบบของอนุกรมเวลาโดยทั่วไป มีอยู่2 รูปแบบคือ
ก) รูปแบบบวก Y = T + S + C + I (1)
ข) รูปแบบคูณ Y = T x S x C x I (2)
โดยที่ Y คือ อนุกรมเวลา
T คือ อิทธิพลของแนวโน้ม
S คือ อิทธิพลของฤดูกาล
C คือ อิทธิพลของวัฏจักร
I คืออิทธิพลของความไม่แน่นอน

การวิเคราะห์อนุกรมเวลามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ต้ังแต่ Box และ Jenkin (1970) ได้พัฒนาการวิเคราะห์อนุกรมเวลา จากน้ันจะมีการนำเสนอเทคนิคทางสถิติใหม่ๆ ในการวิเคราะห์อนุกรมเวลาเสมอ เช่น Engle (1982)ได้มีการพัฒนาแนวคิดของแบบจำลอง ARCH, Bollerslev (1986) ได้พัฒนาต่อยอดขึ้นไปเป็นแบบจำลอง GARCH,

Engle and Granger (1987)ได้พัฒนาแนวคิดความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว และการปรับตัวระยะส้ันให้เข้าสู่ดุลยภาพระยะยาวจากสมการเดียว และ Johansen (1988) ได้พัฒนาแนวคิดการหาความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว จากการใช้หลายสมการ เทคนิคทางสถิติดังกล่าวได้มีการนำมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านการเงินอย่างแพร่หลาย

การทดสอบปัญหาตัวแบบข้อมูลอนุกรมเวลา

การทดสอบความนิ่งของข้อมูล(Stationary) และการทดสอบ Unit Root การทดสอบอนุกรมเวลา เป็นสิ่งที่ควรกระทำ ก่อนที่จะนำข้อมูลอนุกรมเวลามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  โดยเฉพาะเงื่อนไขความนิ่งของอนุกรมเวลา (Stationary) ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่ส าคัญใน การนำข้อมูลอนุกรมเวลามาใช้ ด้วยเหตุนี้ หากข้อมูลอนุกรมเวลาที่นำมาใช้นั้น ไม่มีลักษณะคงที่ จะต้องทำให้อนุกรมเวลา ดังกล่าวคงที่ก่อน โดยการหาผลต่างของอนุกรมเวลาการคงที่ของอนุกรมเวลา หมายถึงอนุกรมเวลาที่อยู่ในสภาวะสมดุลเชิงสถิติ(Statistical equilibrium) นั่นก็คือ การที่คุณสมบตัิทางสถิติของอนุกรมเวลาไม่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

อ้างอิง

  1. รับทำวิจัย
  2. เทคนิคการทำวิจัย
  3. ระเบียบวิธีวิจัย
  4. ตัวอย่างการทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ
  5. หลักจริยธรรมการวิจัย
  6. วิธีการหลีกเลี่ยงการขโมยความคิด
  7. ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม
  8. การทำวิจัยรัฐประศาสนศาสตร์
  9. ระเบียบวิธีวิจัยด้านรัฐประศาสนศาสตร์
  10. เทคนิคการทำวิจัย
  11. ข้อมูลอนุกรมเวลา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย รับวิเคราะห์SPSS รับวิเคราะห์แบบสอบถาม

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ การเขียนงานวิจัยบทที่5
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำการศึกษาค้นคว้าอิสระ การเขียนงานวิจัยบทที่5