การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์

การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์

แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิคและวิธีการ การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ การทำวิจัยปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ การทำวิจัย ป.เอก สาขารัฐศาสตร์

การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน รัฐศาสตร์

การวิจัยทางรัฐศาสตร์ เชิงปริมาณเป็นการแสวงหาความรู้ในสาขาต่างๆ ของรัฐศาสตร์ในเชิงประจักษ์ เพื่­อบรรยายลักษณะ ทำนายความสัมพันธ์ หรืออธิบายความสัมพันธ์เชิงตรรกะของปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ โดยการใช้ทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดทางรัฐศาสตร์และ/หรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการสร้างกรอบและดำเนินการศึกษา มีกระบวนการดำเนินงานและอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเน้นการใช้ตัวเลข เป็นหลักฐานและการวิเคราะห์เชิงสถิติ และอาศัยกฏของความน่าจะเป็นในการอธิบาย ผลการวิจัยให้มีความแม่นยำและเชื่อถือได้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์

กระบวนการในการทำวิจัยเชิงปริมาณด้านรัฐศาสตร์

ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วว่าการทําวิจัยด้านรัฐศาสตร์จําาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องจัดทําให้ถูกต้องตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีระเบียบแบบแผนที่เป็นที่ยอมรับตามหลักวิชาการ ดังนั้นการทราบถึงขั้นตอนหรือกระบวนการในการทําาวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์จึงเป็นสิ่งที่สําาคัญอย่างยิ่งเนื่องจากจะทําาให้ผู้วิจัยสามารถทราบถึงการจัดลําาดับขั้นตอนและกระบวนการของ การทําาวิจัยได้อย่างเหมาะสม ในบทนี้จะเป็นการอธิบายถึงกระบวนการและขั้นตอนในการทําาวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ว่าประกอบไปด้วยกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง และแต่ละขั้นตอนนั้นมีรายละเอียดอย่างไร ในส่วนท้ายของบทนี้จะยกตัวอย่างแผนการ ดําเนินการวิจัยเพื่อที่ผู้วิจัยสามารถนําไปประยุกต์ใช้เป็นกรอบระยะเวลาให้ผู้วิจัยสามารถดําาเนินงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบความสําเร็จในระยะเวลาที่กําาหนด

ปัญหาการวิจัย ชื่อเรื่องงานวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์

ปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ (Qunititative research question in Political Science) หมายถึง ประเด็นทางรัฐศาสตร์ที่นักวิจัยมีความสงสัยและต้องการคําตอบจากข้อสงสัยนั้น การกําหนดปัญหาการวิจัยมีความสําคัญมากที่สุดในการทําวิจัยเนื่องจากสามารถเอื้อให้การวิจัยนั้น ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เป็นอย่างดี และมีปัญหาในการดําเนินการน้อยที่สุด

ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างมากกับการกําหนด วัตถุประสงค์และสมมติฐาน โดยอาศัยวิธีการทบทวนทฤษฎี แนวคิดและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับการวิจัยทางรัฐศาสตร์ ดังนั้นหากผู้วิจัยสามารถกําหนดปํญหาการวิจัยได้ดี มีความเหมาะสม และสามารถเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ก็จะทําให้การทํางานของผู้วิจัยนั้นมีปัญหาและ/หรืออุปสรรค น้อยที่สุด

อย่างไรก็ตาม การกําหนดปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์อาจจะเป็นปัญหาใหญ่ อันดับต้น ๆ ของนักวิจัยที่มีประสบการณ์น้อย โดยในการเริ่มทําวิจัยนั้นนักวิจัยหน้าใหม่นั้น อาจจะมีความลําบากและความสับสนในช่วงแรก โดยไม่ทราบว่างานวิจัยของตนนั้นจะต้องเริ่ม จากอะไร และจะต้องทําสิ่งใดเป็นสิ่งแรกเพื่อให้ได้มาซึ่งปัญหาการวิจัย เนื่องจากในปัจจุบันนี้มีงานวิจัย

สมมติฐาน การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์

ดังที่ได้กล่าวไว้ในเบื้องต้นแล้วว่าในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์นั้นมักจะมีการกำหนด สมมติฐานเพื่อเป็นการคาดคะเนคำตอบการวิจัยไว้ล่วงหน้า ดังนั้นในบทที่ 5 จะเป็นการอธิบายถึง ความหมายของสมมติฐาน วัตถุประสงค์ในการตั้งสมมติฐาน ลักษณะ ประเภทและการทดสอบ สมมติฐาน ผลที่ได้จากการทดสอบสมมติฐาน ขั้นตอนและความผิดพลาดในการทสอบสมมติฐาน และระดับนัยสำคัญ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ความหมายของสมมติฐาน สมมติฐาน (Hypothesis) หมายถึง ข้อสมมติหรือข้อความที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้า อย่างมีเหตุผลซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ และเมื่อผ่านการพิสูจน์แล้วข้อความนั้น ๆ อาจจะเป็นจริงหรือไม่จริง ก็ได้ (Cozby, 2004, p. 374; Mcintyre, 2005, pp. 52-54; Muijs, 2011, p. 7) วัตถุประสงค์ในการตั้งสมมติฐานในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ การตั้งสมมติฐานมีวัตถุประสงค์เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของงานวิจัย โดยผู้วิจัยสามารถ กำหนดเป็นข้อความบอกเล่าที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรของงานวิจัยอย่างน้อย 2 ตัว ซึ่งสามารถช้อธิบายตัวแปรใน 2 ลักษณะ คือ 1) ลักษณะเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรและ 2) ลักษณะ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

 

ข้อมูลและตัวแปรในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์

ในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์นั้น ประเด็นสำคัญประการหนึ่งที่ผู้วิจัยจำเป็น ต้องมีความรู้อย่างถูกต้องและลึกซึ้งคือประเด็นเรื่องข้อมูลและตัวแปร ดังนั้นรายละเอียดในบทที่ 6 จะเป็นการอธิบายประเด็นทั้งสองประเด็น ได้แก่ 1) ข้อมูล และ 2) ตัวแปร โดยในส่วนแรกจะเป็น การอธิบายถึงความหมายและประเภทของข้อมูล และในส่วนที่สองจะเป็นการอธิบายถึงความหมาย ประเภทและมาตราหรือระดับการวัดของตัวแปร

โดยทั้งสองส่วนมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ความหมายของข้อมูล ข้อมูล (Data) คือ รายละเอียด ข้อเท็จจริงหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดขึ้นที่สามารถ แสดงออกมาได้หลายรูปแบบ เช่น ในรูปของภาพ ข้อความ หรือตัวเลข ในการทำวิจัยทุกครั้งข้อมูล จะถูกเก็บรวบรวมโดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างผสมผสานกันตามความเหมาะสม ของข้อมูล และนำมากระทำตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย เช่น พรรณนา เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ อธิบาย หรือสร้างแบบจำลอง เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (Neuman, 2007, p. 7; Schreiber and Asner-Self, 2011, p. 230)

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์

เป็นการอธิบายถึงความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ หลักการในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งนิยมกระทำโดยใช้วิธีการ 3 วิธี คือ 1) การพิจารณาจากขนาดของประชากร 2) การใช้ตาราง สำเร็จรูป และ 3) การใช้สูตรคำนวณ

นอกจากนี้ยังได้อธิบายว่าวิธีการสุ่มตัวอย่างสามารถจำแนก ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การสุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็นและการสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ ความน่าจะเป็นและข้อผิดพลาดในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยมีรายละเอียดตามลำดับดังต่อไปนี้

ประชากร ประชากร (Population) หมายถึง สมาชิกทั้งหมดที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ทั้งนี้สมาชิกแต่ละ หน่วยในประชากรเรียกว่า หน่วยประชากร (Element) ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ซึ่งหน่วยที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาอาจเป็นคน ครัวเรือน หมู่บ้าน สถานบริการหรือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย (Pole, & Lampard, 2002, p. 32; McIntyre, 2005, p. 94; สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, 254 1, หน้า 101) ตัวอย่างของประชากรการวิจัย มีดังตารางต่อไปนี้

อ้างอิง :

 1. เทคนิคการทำวิจัย

2. เทคนิคการทำวิจัย

3. องค์ประกอบงานวิจัย

4. เทคนิคการทำวิจัยรัฐศาสตร์

 

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ เทคนิคการทำวิจัย
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ เทคนิคการทำวิจัย
 

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss บทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย