การเขียนบทคัดย่อ

การเขียนบทคัดย่อ

เทคนิค วิธีการ การเขียนบทคัดย่อ

เทคนิค การเขียนบทคัดย่อ สำหรับงานวิจัย วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ บทคัดย่อ สารนิพนธ์ การศึกษาอิสระ ปัญหาพิเศษ และงานวิจัยทุกประเภท

บทคัดย่อ คือ ข้อมูลสรุปเนื้อหาของงานวิจัย การเขียนบทคัดย่อควรใช้ข้อความสั้น กระทัดรัดและกระชับ (Concision) มีความถูกต้อง (Precision) และมีความชัดเจน (Clarity)  ทำให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของงานวิจัยอย่างรวดเร็ว และอ่านได้เข้าใจโดยไม่ต้องไปอ่านจากที่อื่นอีก  โดยเมื่อผู้อ่านๆบทคัดย่อจบแล้ว ต้องมองภาพรวมของงานวิจัยได้  บทคัดย่อเป็นตัวแทนของงานวิจัยเพราะมักจะถูกรวบรวมไว้ในแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ ซึ่งผู้อ่านมักจะตัดสินจากบทคัดย่อว่าควรจะอ่านงานวิจัยทั้งหมดต่อไปหรือไม่

ในการเขียนบทคัดย่องานวิจัยควรใช้พื้นที่ไม่เกิน  10  บรรทัด   โดยมีประเด็นในการนำเสนอในแต่ละบรรทัดดังนี้

บรรทัดที่ 1 กับ  บรรทัดที่ 2  Why did you start? –Introduction เป็นการกล่าวเกริ่นนำเข้าถึงเรื่องที่จะศึกษา  มุ่งตอบคำถาม “ทำไมจึงวิจัย”  ระบุว่าเพราะเหตุใดหัวข้อที่ผู้วิจัยได้เลือกไว้จึงเป็นปัญหาที่จำเป็นจะต้องศึกษาและประเด็นอะไรที่ยังไม่ครอบคลุมหรือที่ยังไม่ได้ศึกษา   โดยนำคำที่สำคัญที่สุดจากชื่อเรื่องมาเขียนร้อยเรียงกัน  เริ่มจากคำที่สำคัญที่สุดของชื่อเรื่องก่อนเป็นอันดับแรก  แล้วต่อด้วยวัตถุประสงค์ของงานวิจัย  มุ่งตอบคำถาม  “ต้องการทราบอะไร””  Why did you try to do? –Aims and objectives

บรรทัดที่ 3 กับ  บรรทัดที่ 4   What did you do? –Method   ระบุวิธีการดำเนินการวิจัย   ประชากร กลุ่มตัวอย่าง  จำนวนตัวอย่าง  วิธีการทดลอง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล  วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ช่วงเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล

บรรทัดที่ 5 กับ  บรรทัดที่ 6  What did you find? –Results  ระบุข้อค้นพบ(ผลการวิจัย)จากงานวิจัยที่โดดเด่นที่สุดของงานวิจัยที่ทำการศึกษาต้องเลือกข้อมูลที่สำคัญมากที่สุดโดยควรมีคำสำคัญจากชื่อเรื่องในบรรทัดนี้ด้วย

บรรทัดที่ 7 กับ  บรรทัดที่ 8  ระบุข้อค้นพบ(ผลการวิจัย) จากงานวิจัยที่โดดเด่นที่สุดในลำดับที่สองของงานวิจัยที่ทำการศึกษา  โดยควรมีคำสำคัญจากชื่อเรื่องในบรรทัดนี้ด้วย

บรรทัดที่ 9 กับ  บรรทัดที่ 10  What does it mean? –Conclusions  สรุปรวบยอดผลการวิจัยและชี้นำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายหรือวิธีการปฏิบัติประเด็นของข้อเสนอแนะนี้ มีไว้เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยการบอกกับผู้อ่านว่าความรู้ที่ได้จากการศึกษาของผู้วิจัยจะช่วยกลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาได้อย่างไร   ต้องทำให้ผู้อ่านงานวิจัยร้องออกมาว่า  “โอ้โห” กล่าวคือ ให้ผู้อ่านรู้สึกทึ่งกับผลการวิจัยของผู้วิจัยว่าเป็นงานที่มีคุณภาพ สามารถช่วยเหลือกลุ่มประชากรได้ หรือมีประสิทธิภาพ และ/หรือ มีคุณค่าอย่างไร?

หลักเกณฑ์ของการเขียนบทคัดย่อที่ดีมีดังนี้

1. บทคัดย่อที่ดี ควรคัดแต่เรื่องสำคัญ ๆ ที่เป็นประเด็นน่าสนใจทั้งหมด จะต้องเน้นการถ่ายทอดเฉพาะ จุดเด่นของการวิจัย โดยงานวิจัยมีความชัดเจน สั้น กะทัดรัด พอดีกับกฎเกณฑ์บางอย่างของบทคัดย่อที่ดี เช่น จำนวนคำต้องอยู่ระหว่าง 200-250 คำ หรือประมาณไม่เกิน 1 หรือ 1หน้าครึ่งของหน้ากระดาษ A4
2. ก่อนการเขียนบทคัดย่อ ควรอ่านและทำความเข้าใจกับงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของตนเอง เพื่อหา ประเด็นต่างๆ ที่น่าสนใจ ดึงดูดให้ผู้อ่านทั่วไปอยากอ่านวิจัยเล่มสมบูรณ์
3. ไม่มีการตีความหรือวิพากษ์วิจารณ์โดยใช้ความคิดของตนเอง
4. ไม่ควรเขียนประโยคที่เข้าใจยาก หรือมีความรุนแรงในตัวมาใช้ ไม่ใช้ศัพท์เฉพาะท้องถิ่น ไม่ใช้ตัวย่อ หรือสัญลักษณ์โดยไม่จำเป็น เพราะอาจสร้างความไม่เข้าใจให้ผู้อ่านได

5. ไม่มีการอ้างอิงตัวเลข แผนภาพ ตาราง โครงสร้างสูตรสถิติต่าง ๆ หรือสมการต่าง ๆ ในบทคัดย่อ นอกจากจำเป็นที่จะแสดงผลการวิเคราะห์
6. ในการเขียนบทคัดย่อ อาจมีหลายย่อหน้าได้ เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้ผู้อ่านในแต่ละตอน
7. หลีกเลี่ยงการอ้างอิงงานวิจัยของผู้อื่นในบทคัดย่อ (ไม่ควรมีเลยจะดีกว่า)
8. ทำตามขั้นตอนของโครงสร้างการเขียนบทคัดย่อ โดยต้องระมัดระวังให้มากรวมถึงลักษณะแบบ ตัวอักษร ขนาดตัวอักษร การกำหนดขอบเขตหน้ากระดาษ เคร่งครัดต่อหลักการพิมพ์ และรูปแบบที่เป็นที่ยอมรับ ควรระมัดระวังในการตรวจสอบการเขียนโดยอ่านหลาย ๆ รอบ จะเป็นการเพิ่มคุณภาพของบทคัดย่อ ให้เป็นที่ยอมรับในการนำเสนองานวิจัย

รับทำบทคัดย่อ รับเขียนบทคัดย่อ 
รับทำบทคัดย่อ รับเขียนบทคัดย่อ

รับทำบทคัดย่อ รับเขียนบทคัดย่อ

รับเขียนบทคัดย่อภาษาไทย ภาษาอังกฤษ จีน และญี่ปุ่น รับแปลบทคัดย่อ เอกสารการศึกษา บทคัดย่อ วิทยานิพนธ์ รายงาน งานวิจัยทุกประเภท ทุกภาษา ทุกรูปแบบ ตลอด 24 ชั่วโมง ในราคาย่อมเยาว์ คุณภาพงานระดับมาตรฐาน งานเสร็จตรงเวลา สามารถนำไปใช้งานได้ทันที ตรงตามหลักการวิชาการ การเขียนสรุปเนื้อหาเพื่อจัดทำบทคัดย่อที่ถูกต้อง ด้วยภาษาที่ถูกต้องและสวยงาม

ทีมบุคลากรระดับปริญญาเอก และ ปริญญาโท ที่มีความเชี่ยวชาญงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ และนักภาษาศาสตร์ ทำให้สามารถจัดทำบทย่อที่ถูกต้อง  ทั้งในเรื่องของการสรุปข้อมูลสำหรับนำเสนอ ไวยากรณ์ต่างๆ  การันตีได้ว่างานทุกชิ้นนั้นมีคุณภาพมาตรฐานระดับโลก สำนวนการแปลอ่านง่าย สละสลวย ทั้งบริบทและศัพท์ที่ใช้ในการแปล เพื่อให้ได้งานบทคัดย่อซึ่งเป็นหน้าแรกของงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์นั้นๆ  มีคุณค่าและน่าอ่าน

อ้างอิง

  1. รับทำวิจัย
  2. รับทำวิทยานิพนธ์
  3. แนวคิดการจัดทำบทคัดย่อ
  4. รับทำบทคัดย่อ

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำบทคัดย่อ รับเขียนบทคัดย่อ