หัวข้อวิทยานิพนธ์

ปรึกษาหัวข้อวิจัย

ปรึกษาหัวข้อวิจัย  ปรึกษาโครงร่างวิจัย (Proposal) ให้บริการด้านการทำวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทุกโปรแกรม  บริการ ปรึกษาหัวข้อวิจัย  หัวข้อวิทยานิพนธ์  หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ และ โครงร่างวิจัย (Proposal) ปรึกษาการทำวิจัย ปรึกษาหัวข้อวิจัย  หัวข้อวิทยานิพนธ์ จ้างทำวิทยานิพนธ์  และจัดทำ โครงร่างวิจัย โดยนักวิจัยระดับปริญญาเอกและปริญญาโท  มีความชำนาญ และประสบการณ์ทำวิจัยในและต่างประเทศ มากกว่า 15 ปี  ให้บริการตั้งแต่ การกำหนดหัวข้อวิจัย  หัวข้อวิทยานิพนธ์  หัวข้อดุษฎีนิพนธ์  วิจัยปริญญาโทและปริญญาเอก  ทีมงานมืออาชีพ  รู้จริง ประสบการณ์มากกว่า 15ปี  สามารถสอบถาม ปรึกษา พูดคุยได้ทุกประเด็นก่อนตัดสินใจ  ไม่ส่งงานต่อ  ไม่ทิ้งงาน   วิจัยและวิทยานิพนธ์ สาขา  บริหารธุรกิจ   บริหารรัฐกิจ  บริหารการศึกษา  บริหารนโยบายสาธารณะ  เศรษฐศาสตร์  รัฐศาสตร์  รัฐประศาสนศาสตร์ โลจิสติกส์และจัดการโซ่อุปทาน   นิเทศศาสตร์และสื่อสารมวลชน  การเงิน  การบัญชี  การจัดการ  การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ  สังคมศาสตร์อื่นๆ ทุกแขนง Market Research …

ปรึกษาหัวข้อวิจัย Read More »

การเลือกหัวข้อวิจัย หรือ หัวข้อวิทยานิพนธ์

หัวข้อวิจัย หรือ หัวข้อวิทยานิพนธ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญอันดับแรกของการทำวิจัย เนื่องจากเป็นประตูบานแรกที่จะทำให้ผู้อ่านงานวิจัยรับรู้ว่า งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์เรื่องนั้นๆ เป็นเรื่องที่ทำเกี่ยวกับอะไร มีความน่าสนใจ หรือ มีความเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ผู้อ่านต้องการหรือไม่ อย่างไร? หัวข้อวิจัย หรือหัวข้องานวิจัยประเภทอื่นๆ ทั้ง วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ค้นคว้าอิสระ ปัญหาพิเศษ หรือรายงานวิจัย  ที่ดีหรือน่าสนใจ จะต้องเป็นหัวข้อวิจัยหรือหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่มีความชัดเจน กระชับ เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน หรือมีคำหลัก (Keyword) อยู่ในชื่อหัวข้อวิจัยมากจนเกินไป เนื้อหาในบทความนี้จะพูดถึงเทคนิคการเลือก หัวข้อวิจัย หรือ หัวข้อวิทยานิพนธ์ ซึ่งเป็นเทคนิคเดียวกับการเลือกหัวข้อวิจัยสำหรับการทำดุษฎีนิพนธ์ สารนิพนธ์ ค้นคว้าอิสระ ปัญหาพิเศษ ซึ่งมี 5 เทคนิคดังนี้ 1) เลือกหัวข้อวิจัยจากความสนใจของผู้ทำวิจัย  แม้ว่าหัวข้อที่จะทําการวิจัยนั้นมีความสำคัญมากหรือน้อยเพียงใดก็ตาม หรือเป็นเรื่องที่กําลังอยู่ในกระแสหรือความสนใจของสาธารณชนมากน้อยเพียงใด ถ้าหากผู้ที่จะทําวิจัยไม่มีความสนใจในหัวข้อหรือเรื่องนั้นๆ   ผู้วิจัยก็ไม่ควรที่จะทําวิจัยหัวข้อนั้น เนื่องจากมีรายงานวิจัย สถิติ และข้อมูลในอดีตที่ผ่านมา พบว่า งานวิจัยจํานวนมากไม่สามารถลุล่วงไปได้ด้วยดีด้วยเหตุผลที่สำคัญ คือ ผู้วิจัยไม่มีความสนใจอย่างแท้จริง ความสนใจในเรื่องที่จะทําวิจัยมีความสําคัญมาก เพราะเป็นแรงจูงใจที่จะผลักดันให้ผู้วิจัย เกิดการติดตามค้นคว้า เพื่อให้โครงการวิจัยได้บรรลุเป้าหมาย …

การเลือกหัวข้อวิจัย หรือ หัวข้อวิทยานิพนธ์ Read More »