หัวข้อวิทยานิพนธ์ MBA

วิทยานิพนธ์MBA

วิทยานิพนธ์MBA คู่มือ เทคนิค เคล็ดลับ การทำ วิจัยMBA วิทยานิพนธ์MBA วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ ให้ผ่านง่ายๆ ภายในเวลาที่กำหนด วิทยานิพนธ์MBA หรือ วิจัยMBA เป็นวิจัยที่มีกระบวนการทำไม่แตกต่างจาก วิจัยสังคมศาสตร์ อื่นๆ  โดยปกติแล้วหลักสูตรปริญญาโท รวมทั้ง ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จะมีให้เลือกด้วยกันอยู่ 3 แบบ คือ แผน ก1, ก2, และแผน ข ซึ่งหลักสูตรเหล่านี้มีความต่างกันทั้งวิชาเรียน ความเข้มข้นและรูปแบบการเรียน แบบแผน ก1 คือ หลักสูตรที่เหมาะสำหรับผู้ที่มีความเชี่ยวชาญหรืออาจารย์ในสาขาวิชานั้นๆ โดยหลักสูตรแบบ ก1 จะไม่มีการเรียนการเรียนการสอน แต่จะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้เวลาไปกับการทำวิทยานิพนธ์ (Thesis) เท่านั้น ทำให้หลักสูตร ก1 ไม่เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้น สำหรับแบบแผน ก2 จะมีความต่างจากแบบแผน ก1 ก็คือ มีการเพิ่มการเรียนการสอนให้เพื่อปรับพื้นฐานและความรู้ให้กับผู้เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้เหล่านั้นไปทำวิทยานิพนธ์ (Thesis) ได้ ส่วนแบบแผน ข จะมีความคล้ายคลึงกับแบบแผน ก2 …

วิทยานิพนธ์MBA Read More »

หัวข้อวิจัยMBA การเลือกหัวข้อวิจัยสาขาบริหารธุรกิจ (Business Adnistration)

เทคนิคการเลือกชื่อเรื่องวิจัย หัวข้อวิจัยMBA การเลือก หัวข้อวิจัยMBA โดยทั่วไปหากหลักสูตรที่เรียนไม่ได้กำหนดหรือแยกเมเจอร์ (Major) ไว้อย่างชัดเจน การเลือกหัวข้อหรือชื่อเรื่องวิจัย สามารถกำหนดเรื่องที่เป็นไปได้ทั้งทางด้านการตลาดหรือวิจัยตลาด  การเขียนแผนธุรกิจ (Business Plan) วิจัยที่มุ่งเน้นในด้านการจัดการ (Management) ซึ่งเป็นหัวข้อวิจัยที่สามารถทำได้อย่างกว้างขวางในหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) อย่างไรก็ตาม  หากมีการแยกสาขาหรือเมเจอร์ที่มีความเฉพาะเจาะจงลงไป เช่น การเงิน การตลาด การจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์  การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ฯลฯ  การเลือกหัวข้อวิจัยจะต้องมุ่งเน้นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องหรือเฉพาะจาะจงมากยิ่งขึ้น เทคนิค 5 ข้อสำหรับการเลือก หัวข้อวิจัยMBA เทคนิคโดยทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงว่าจะเป็นบริหารธุรกิจในสาขา(Major)ใด จะมีหลักการสำคัญดังนี้ เป็นหัวข้อหรือชื่อเรื่องที่มีความน่าสนใจ  ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ อยู่ในความสนใจ หรือเป็นแนวโน้มและทิศทางที่กำลังได้รับความนิยมและถูกพูดถึงในวงกว้าง หัวข้อหรือชื่อเรื่องมีความชัดเจน สั้น กระชับ ไม่ระบุคำหลัก (Keyword) ไว้มากเกินไป เป็นหัวข้อที่มีเนื้อหาที่่ผู้ทำวิจัยมีความสนใจ เลือกเรื่องที่ผู้ทำวิจัยมีความรู้เป็นอย่างดี ไม่ควรทำเรื่องที่ผู้วิจัยขาดความรู้หรือเป็นเรื่องที่มีความยาก สลับซับซ้อนจนเกินไป หัวข้อวิจัยนั้นๆ ต้องสามารถเข้าถึงข้อมูลได้  ทั้งจากแบบสอบถาม (Questionnaire) และหากเป็นข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) …

หัวข้อวิจัยMBA การเลือกหัวข้อวิจัยสาขาบริหารธุรกิจ (Business Adnistration) Read More »