วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์

วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์

การทำวิจัย รัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิค กระบวนการทำวิจัย วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ การทำวิจัย ในสาขารัฐศาสตร์ เป็นการศึกษาข้อเท็จจริง และมุ่งทำความเข้าใจกับปรากฎการณ์ทางการเมืองและสังคมที่แวดล้อมตัวเราอยู่ โดยจะอาศัยแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับปรัชญาและความคิดทางการเมืองต่าง ๆ เช่น รัฐธรรมนูญ รัฐสภา พรรคการเมือง การเลือกตั้งและปัญหาทางการเมือง และสังคมที่สำคัญ ๆ เช่น ธุรกิจกับการเมือง ทหารกับการเมือง การเมืองของผู้ใช้แรงงาน ชาวนา ฯลฯ 20 ไอเดีย หัวข้อวิจัยและวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ เหล่านี้ เรารวบรวมได้จากฐานข้อมูลที่เผยแพร่ในระบบอินเทอร์เน็ต ที่ผู้สนใจสามารถเข้าไปดูและใช้เป็นตัวอย่างการทำวิจัย ที่สอดคล้องกับความต้องการและความถนัดของตนดังนี้ 1 การจัดการระบบสารสนเทศด้านงบประมาณ งานคลังและพัสดุ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ = Management of Information System for in the Tasks …

วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ Read More »

หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์

หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ ก่อนที่เราจะสามารถเลือกชื่อ หรือ ตั้งชื่อ หัวข้อวิทยานิพนธ์ ด้านรัฐศาสตร์ หรือ หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์  ควรทำความเข้าใจตั้งแต่นิยาม และความหมายของ การวิจัยทางรัฐศาสตร์ คืออะไร การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน รัฐศาสตร์ กระบวนการการวิจัยทางรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ การทาำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์ และ ดุษฎีนิพนธ์ ในสาขา รัฐศาสตร์ จะเริ่มตั้งแต่สังเกตปรากฏการณ์การกำหนดประเด็นและโจทย์การ วิจัย การทบทวนเอกสารวิจัย การกำหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐาน การออกแบบการวิจัย เครื่องมือและ วิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผล การอภิปรายและการนำเสนอผลการวิจัย ประเภทของการ วิจัยต่างๆ ตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมของนักวิจัย ประเด็นปัญหาการวิจัยทางรัฐศาสตร์ ที่สำคัญที่สุดคือประเด็นอะไร สำหรับ การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ นั้น ประเด็นสำคัญประการหนึ่งที่ผู้วิจัยจำเป็น ต้องมีความรู้อย่างถูกต้องและลึกซึ้งคือประเด็นเรื่องข้อมูลและตัวแปร ดังนั้นรายละเอียดในบทที่ 6 จะเป็นการอธิบายประเด็นทั้งสองประเด็น ได้แก่ 1) ข้อมูล และ 2) ตัวแปร โดยในส่วนแรกจะเป็น การอธิบายถึงความหมายและประเภทของข้อมูล …

หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ Read More »

วิจัยรัฐศาสตร์

วิจัยรัฐศาสตร์ กระบวนการทำวิจัย เทคนิค หัวข้อ การวิจัยรัฐศาสตร์ วิจัยรัฐศาสตร์ เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการ การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ โดยทั่วไปจะมุ่งเน้นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และอาศัยกระบวนการทำวิจัยในแนวทางเดียวกันกับวิจัยสังคมศาสตร์อื่นๆ คือ เป็นการแสวงหาความรู้ในสาขาต่างๆ ของรัฐศาสตร์ในเชิงประจักษ์ เพื่­อบรรยายลักษณะ ทำนายความสัมพันธ์ หรืออธิบายความสัมพันธ์เชิงตรรกะของปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ โดยการใช้ทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดทางรัฐศาสตร์และ/หรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการสร้างกรอบและดำเนินการศึกษา มีกระบวนการดำเนินงานและอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเน้นการใช้ตัวเลข เป็นหลักฐานและการวิเคราะห์เชิงสถิติ และอาศัยกฏของความน่าจะเป็นในการอธิบาย ผลการวิจัยให้มีความแม่นยำและเชื่อถือได้ กล่าวได้ว่า การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ เป็นการแสวงหาความรู้ความจริงในขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ กล่าวคือในประเด็นที่เกี่ยวกับกิจกรรมหรือปรากฏการณ์ หรือวิธีการแก้ปัญหาด้านการเมือง รัฐบาล การบริหารงานของรัฐ และกิจกรรมของรัฐด้วยวิธีการที่น่าเชื่อถือ ซึ่งมีลักษณะเป็นระบบระเบียบและเป็นเหตุเป็นผล เพื่อให้ความรู้ความจริงที่เชื่อถือได้ เพื่อนำเอาความรู้ความจริงมาใช้อธิบาย ทำนาย หรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านรัฐศาสตร์ การทำวิจัยรัฐศาสตร์  ประกอบไปด้วย 3 สาขาวิชาหลัก ดังนี้ 1. สาขาวิชาการปกครอง …

วิจัยรัฐศาสตร์ Read More »

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ เริ่มจากการทำความเข้าใจความหมายของวิจัยรัฐศาสตร์ ดังนี้ การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน 10 ไอเดีย หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิจัยรัฐศาสตร์เหล่านี้ ผู้จัดทำ ได้ทำการรวบรวมจากแหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ ในสาขารัฐศาสตร์ สำหรับผู้สนใจใช้เป็นแนวทาง การทำวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิจัยรัฐศาสตร์  1.ความต้องการและความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ 2.กระบวนการตัดสินใจของนักการเมืองท้องถิ่นในการจัดสรรงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี 3.การมีส่วนร่วมของสมาชิกประชาคมหมู่บ้านในการแก้ไขปัญหายาเสพติด : กรณีศึกษา อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี 4.ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี 5.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการปฏิบัติงานสืบสวนสอบสวนของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด …

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ Read More »

การทำวิจัยรัฐศาสตร์ (Political Science)

การทำวิจัยรัฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ (Political Science) บทความ ไอเดีย แนวคิดพื้นฐาน ไปสู่การเลือกหัวข้อวิจัย การทำวิจัยรัฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ (Political Science)  เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน การวิจัยทางรัฐศาสตร์ เชิงปริมาณเป็นการแสวงหาความรู้ในสาขาต่างๆ ของรัฐศาสตร์ในเชิงประจักษ์ เพื่­อบรรยายลักษณะ ทำนายความสัมพันธ์ หรืออธิบายความสัมพันธ์เชิงตรรกะของปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ โดยการใช้ทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดทางรัฐศาสตร์และ/หรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการสร้างกรอบและดำเนินการศึกษา มีกระบวนการดำเนินงานและอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเน้นการใช้ตัวเลข เป็นหลักฐานและการวิเคราะห์เชิงสถิติ และอาศัยกฏของความน่าจะเป็นในการอธิบาย ผลการวิจัยให้มีความแม่นยำและเชื่อถือได้ การวิจัยทางรัฐศาสตร์ อธิบายถึงการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ โดยในส่วนแรกจะเป็นการอธิบายโดยสังเขปว่ารัฐศาสตร์คืออะไรและมีขอบเขตการศึกษาครอบคลุม ถึงประเด็นใดบ้าง ต่อจากนั้นจะเป็นการอธิบายถึงความหมายของการวิจัย การวิจัยทางรัฐศาสตร์ และความหมาย ความสําคัญและประโยชน์ของการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ ในส่วนต่อไป จะอธิบายถึงลักษณะที่ดีของการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์และลักษณะของการศึกษาที่ไม่ถือว่า เป็นการวิจัย ในส่วนท้ายของบทจะเป็นการอธิบายถึงจรรยาบรรณของนักวิจั ปัญหาการวิจัย ชื่อเรื่องงานวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัยเชิงปริมาณ การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ ปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ (Qunititative …

การทำวิจัยรัฐศาสตร์ (Political Science) Read More »

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง  เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์ เริ่มจาก หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ ที่เหมาะสม ไอเดียสุดปัง การเลือก การตั้งชื่อ หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ 1 กระบวนการจัดการของภาครัฐต่อหมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาวในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน = The Managerial process of government towards Long -Neck Karen Villages in Mae Hong Son Province / วรศักดิ์ พานทอง / 2554 /Full Text 2 การกำหนดทางเลือกกลยุทธ์ในการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุเทศบาลเขลางค์นคร = Strategic choices in elderly person social welfare of Kelangnakorn Municipality / …

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ Read More »