ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์

ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์

ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์ การทำดุษฎีนิพนธ์ระดับปริญญาเอกหรือดุษฎี  มีประเด็น ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์ ที่ควรให้ความสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ หลักเกณฑ์การทำดุษฎีนิพนธ์  มีความถูกต้อง การทำดุษฎีนิพนธ์ต้องมีความถูกต้องและเที่ยงตรง มีความน่าเชื่อถือในทุกๆคำพูด และทุกๆข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในเล่มดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งในทีนี้หากไม่ใช่คำพูดหรือตัวเลขที่ผู้ทำดุษฎีนิพนธ์จัดทำขึ้นหรือเรียบเรียงขึ้นเอง ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาให้ถูกต้องและชัดเจน มีเหตุผลที่หนักแน่นเพียงพอ การเขียนดุษฎีนิพนธ์ต้องอาศัยตรรกะ หรือ การเชื่อมโยงเหตุและผลให้ชัดเจนน่าเชื่อถือ ตรวจสอบย้อนหลังได้ มีความชัดเจน ไม่คลุมเครือ มีความครบถ้วนและสมบูรณ์ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ มีความกะทัดรัด การเขียนให้สั้นแต่ได้ใจความ มีเนื้อหาสาระที่ความครอบคลุมสาระสำคัญ มีความคงเส้นคงวา (Consistency) กล่าวคือ การเขียนดุษฎีนิพนธ์ควรเลือกใช้คำหรือลักษณะของภาษาที่คงเส้นคงวา มีความเชื่อมโยงและความสอดคล้องกันของเนื้อหาในแต่ละย่อหน้าหรือแต่ละบทของการเขียนดุษฎีนิพนธ์ เป็นการเรียบเรียงเนื้อหาที่มีความสอดคล้องเชื่อมโยงเป็นเหตุเป็นผลต่อเนื่องกัน ปัญหาของการทำดุษฎีนิพนธ์ สำหรับปัญหาในการทำดุษฎีนิพนธ์มีสาเหตุสำคัญดังนี้ เวลา เวลาที่ใช้ในการศึกษามีน้อยไม่เพียงพอต่อการศึกษาค้นคว้า นำมาซึ่งความล้มเหลวในการทำดุษฎีนิพนธ์ รวมถึงการจัดการเวลาด้วย ภาระงานประจำที่มีมาก งานในหน้าที่ก็ยังต้องปฏิบัติอย่างเต็มที่ ส่งผลต่อเวลาในการศึกษา และดำเนินการทำดุษฎีนิพนธ์ การเลือกหัวข้อ เลือกหัวข้อที่ไม่มีความถนัด จะส่งผลต่อความตั้งใจและความพยายามที่จะทำให้สำเร็จ “ดีวิธีวิจัยไม่แดก” เมื่อไม่มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการวิจัยในแบบต่าง ๆ ก็ไม่สามารถนำวิธีการเหล่านั้นไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ ขาดทฤษฎี ปรัชญา ฐานความคิด หลักการ ถ้าไม่ศึกษาค้นคว้า …

ปัญหาการทำดุษฎีนิพนธ์ Read More »

การทำวิทยานิพนธ์ ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ แนวทางการแก้ไข

การทำวิทยานิพนธ์ ปัญหาที่พบในการทำวิทยานิพนธ์ และ ดุษฎีนิพนธ์  และวิธีการแก้ไข จากการทำงานเป็นผู้ช่วยทำวิจัย ผู้ช่วยและที่ปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์ และ วิจัยปริญญาเอก หรือดุษฎีนิพนธ์  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับงานที่ติดต่อให้เป็นที่ปรึกษาในการแก้ไขวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์มักจะเป็นประเด็น พบว่า การทำวิทยานิพนธ์  ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์  เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์   พอสรุปได้ดังนี้ 1. การทำวิทยานิพนธ์  ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ เทคนิคการทำวิทยานิพนธ์ : หัวข้อการวิจัย หัวข้อวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์    1.1. อ่านชื่อเรื่องแล้วไม่เข้าใจว่านักศึกษากำหนดหัวข้อหรือชื่อเรื่องวิจัยไม่ชัดเจน คลุมเครือและไม่ระบุตัวแปรหรือคำหลักที่สำคัญในหัวข้อวิจัย  เช่น “ องค์กรนวัตกรรมของบริษัท……………………………………………………………………………….” หัวข้อวิจัยที่ยกตัวอย่างนี้ ในข้อ ก.  ไม่สามารถระบุให้ชัดเจนว่าผู้วิจัยต้องการจะศึกษาอะไรขององค์กรนวัติกรรมของบริษัท เพราะไม่มีการระบุลักษณะหรือตัวแปรอยู่ด้านหน้าคำนาม ทำให้ไม่สามารถระบุได้ว่าจะวัดค่าอย่างไร กรณีการวิจัยเชิงบรรยายหรือเชิงสำรวจ การตั้งชื่อของหัวข้อหรือชื่อเรื่องวิจัย นักวิจัยจะต้องระบุตัวแปรไว้หน้าคำนามเสมอ เช่น การสร้างรูปแบบองค์กรนวัตกรรมของบริษัท ……………………………………………………………………. สำหรับการวิจัยเชิงทดลองหรือการพัฒนา การกำหนดหัวข้อวิจัยชื่อเรื่องต้องระบุสิ่งที่จะทดลองหรือสิ่งที่จะพัฒนา  โดยมีการกำหนดไว้ในชื่อเรื่อง เช่น “การสร้างชุดกิจกรรมการสอนออนไลน์สำหรับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน…………………………………………………………………………………….” หรือ “การสร้างชุดกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์เพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของผู้สอบบัญชี บริษัท  …………………………………………………………………………………….” สำหรับงานวิจัยที่ผู้วิจัยกำหนดให้มีตัวแปรหลายตัวที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร   ผู้วิจัยจะต้องหาคำหรือข้อความที่เป็นตัวแทนของตัวแปรเหล่านั้น ไม่ใช่การระบุชื่อตัวแปรทุกตัวในหัวข้อวิจัยหรือชื่อเรื่อง  ซึ่งเป็นการทำให้ชื่อเรื่องยาวหลายบรรทัด …

การทำวิทยานิพนธ์ ปัญหาการทำวิทยานิพนธ์ แนวทางการแก้ไข Read More »