หัวข้อวิจัยห่วงโซ่อุปทาน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน
การทำวิจัย การจัดการโซ่อุปทาน หัวข้อวิจัย การจัดการโซ่อุปทาน หัวข้อวิจัยห่วงโซ่อุปทาน
ก่อนที่จะสามารถคิด หรือ เลือกชื่อเรื่อง การทำวิจัยเกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน หัวข้อวิจัยห่วงโซ่อุปทาน ควรเริ่มจากการทำความเข้าใจแนวคิดและความหมาย ดังนี้
ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ประกอบด้วย กระบวนการในวงจรการผลิตผลิตภัณฑ์ทุกขั้นตอน เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้บริโภคจากผลิตภัณฑ์หรือการบริการ ซึ่ง ไม่เพียงแต่อยูในส่วนของผู้ผลิต และผู้จัดส่งวัตถุดิบเท่านั้นแต่รวมไปถึงผู้จัดการปัจจัยการผลิต ผู้ขนส่ง คลังสินค้า พอค้าคนกลาง และลูกค้า เริ่มตั้งแต่ต้นน้ำ คือ เกษตรกร จนถึงปลายน้ำ คือ ลูกค้า การจัดการ ห่วงโซ่อุปทาน(Supply Chain Management : SCM) คือการวางแผนหรือ ออกแบบในการปฏิบัติการควบคุมติดตามกิจกรรมในองค์กรทั้ง ห่วงโซ่อุปทาน เพื่อทำให้องค์กรของตนเองมีประสิทธิภาพมากขึ้นลดต้นทุน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
หลาย ๆ องค์กรก็มีแนวคิดที่จะนำการบริหาร ห่วงโซ่อุปทานมาใช้ซึ่งมีทั้งทางตรง และทางอ้อมในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าในการ สร้างคุณค่าในการแข่งขัน การยกระดับการปฏิบัติงานภายในองค์กรและการปรับปรุง ห่วงโซ่อุปทานให้สอดคลองกบอุปสงค์จากการวัดการปฏิบัติงาน ภายในห่วงโซ่อุปทาน แต่ละกิจกรรมที่เกิดขึ้นในทุกขั้นตอนการผลิต โดย ห่วงโซ่อุปทาน คือการเชื่อมโยงกนทางธุรกิจตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ มีการเชือมโยงกันอย่างเป็นระบบ ระเบียบที่ดี มีการเชื่อมโยงอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างธุรกิจ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน จึงจะทำให้การดำเนินงานภายในห่วงโซ่อุปทานมีประสิทธิภาพ
10 ไอเดีย การคิดชื่อเรื่อง หัวข้อวิจัยการจัดการโซ่อุปทาน
- การศึกษาแนวทางการยกระดับดิจิทัล ในห่วงโซ่อปทานเพื่อความยั่งยืน ในอุตสาหกรรมผลิตน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
- การศึกษาแบบจำลองระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการงานวิจัยในโซ่อุปทาน สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
- การศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการของผู้ประกอบธุรกิจนำเข้า สินค้าประเภทนมผง
- การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการโซ่อุปทาน สินค้าประเภทผ้าไหม ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- โมเดลสมการเชิงโครงสร้างการจัดการโซ่อุปทานเพื่อเพิ่มความสามารถทางการแข่งขัน ของผู้ประกอบการ โรงแรมและรีสอร์ท ในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย
- การเพิ่มประสิทธิภาพด้านจัดการโซ่อุปทาน ของอุตสาหกรรมกุ้งในเขตจังหวัดระยอง
กลยุทธ์การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ในเขตภาคเหนือตอนบน
การจัดการโซ่อุปทาน สำหรับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดภูเก็ต
- การสร้างระบบฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานปลาสวยงามเพื่อการส่งออก
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโซ่อุปทานการเพาะปลูกทุเรียนเพื่อการส่งออก
ตัวอย่าง 10 หัวข้อวิจัยการจัดการโซ่อุปทาน ที่ได้รับการตีพิมพ์เรียบร้อยแล้ว
- งานวิจัยเพื่อศึกษาการยกระดับดิจิทัลในห่วงโซ่อปทานเพื่อความยั่งยืน
- ห่วงโซ่อุปทานข้าวหอมมะลิ ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้
- การจัดการห่วงโซ่อุปทานของลิ้นจี่ กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
- การจัดการ ห่วงโซ่อุปทานของสินค้า ผักปลอดภัย ในเขตอำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
- การศึกษาระบบ การจัดการโซ่อุปทาน ของอุตสาหกรรมแพะในจังหวัดสตูล Supply Chain Management of Goat Industry in Satun Province
- การจัดการโซ่อุปทานยางพารา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร
- การจัดการโซ่อุปทาน ของอุตสาหกรรมผักสด ในจังหวัดนครปฐม
- การจัดการห่วงโซ่อุปทาน อุตสาหกรรมมันสำปะหลัง ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง Cassava industry’s Supply Chain Management
In the Lower Northeast Region - การจัดการห่วงโซอปุทาน ของธุรกจิกาแฟ : กรณศีกษา กาแฟภูชี้เดือน อำเภอเวียงแก่น จ.เชียงราย Managing the supply chain of coffee trading business: a case study of Phu Chee Duean coffee Wiang Kaen District, Chiang Rai Province
- การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการจัดซื้อ Increasing the Efficiency of Procurement Management
นอกจากนี้ การจัดการโซ่อุปทานยังเกี่ยวข้องกับแนวคิดการบริหารจัดการอื่นๆ เช่น ห่วงโซ่คุณค่า ซึ่งนิยมนำมาใช้ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดการด้านการจัดการโซ่อุปทานอย่างมากเช่นกัน
ความหมายของห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain)
ห่วงโซ่คุณค่า (Value chain) ได้ถูกน ามาใช้โดย Michael Eugene Porter (กุลภา, 2559) เป็นต้นแบบที่มองว่าธุรกิจชุมชนการท าประมงพื้นบ้านเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์คุณค่าอย่างต่อเนื่องและสัมพันธ์กันเหมือนกับลูกโซ่ ซึ่งแต่ละกิจกรรมในกระบวนการธุรกิจตั้งแต่การนำเข้า วัตถุดิบจนกระทั่งการผลิตสำเร็จกลายเป็นสินค้าสำเร็จรูป มีส่วนช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและ บริการให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้โดยกิจกรรมในตัวแบบห่วงโซ่คุณค่า ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก (Primary activities) และกิจกรรมสนับสนุน (Support activities)
ยกตัวอย่างกรณีการจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมประมงพื้นบ้าน ที่เกี่ยวข้องห่วงโซ่คุณค่า ดังนี้
1) กิจกรรมหลัก (Primary activities) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต หรือสร้างสรรค์สินค้าและบริการ การตลาด และการขนส่งสินค้าหรือบริการในการทำประมงพื้นบ้าน ไปยังผู้บริโภค ประกอบด้วย 5 กิจกรรมย่อย ได้แก่
(1) การนำวัตถุดิบใช้ในการผลิต (Inbound logistics) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการได้รับ การขนส่ง การจัดเก็บ และการแจกจ่ายวัตถุดิบของการทำประมงพื้นบ้าน
(2) การดำเนินการผลิตสินค้า (Operations) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนหรือแปรรูปวัตถุดิบให้ออกมาเป็นสินค้าหรือขั้นตอนการผลิตของการทำประมงพื้นบ้าน
(3) การนำสินค้าออกจ าหน่าย (Outbound logistics) เป็นกิจกรรม เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ รวบรวม จัดจ าหน่ายสินค้าและบริการไปยังลูกค้าของการทำประมงพื้นบ้าน
(4) การตลาดและการขาย (Marketing & sales) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับ การชักจูงให้ลูกค้าซื้อสินค้าและบริการที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการทำประมงพื้นบ้าน
(5) การบริการ (Services) เป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมถึงการให้บริการเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้า รวมถึงการบริการหลังการขาย
2) กิจกรรมสนับสนุน (Support activities) เป็นกิจกรรมที่ช่วยสนับสนุน กิจกรรมหลักให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประกอบด้วย
( 1 ) โ ค รง ส ร้ างพื้น ฐ าน ข อง ธุ ร กิ จ (Firm Infrastructure) ได้ แ ก่
ระบบบัญชี ระบบการเงิน การบริหารจัดการองค์กร ของชุมชนการทำประมงพื้นบ้าน
(2) การจัดการทรัพยากรมนุษย์(Human resource management) เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่การวิเคราะห์งาน การสรรหา การคัดเลือก การว่าจ้าง การฝึกอบรม ของชุมชนการท าประมงพื้นบ้าน
(3) การพัฒนาเทคโนโลยี(Technology development) กิจกรรม เกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มคุณค่าสินค้าและบริการหรือกระบวนการผลิต ของชุมชนการทำประมงพื้นบ้าน
(4) การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) เป็นกิจกรรมจัดหาเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมหลัก ของสมาชิกในชุมชนการทำประมงพื้นบ้าน
แนวคิดห่วงโซ่คุณค่า (Value chain) สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งการจัดการภายในธุรกิจ (Business value chain) การจัดการเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มสมาชิกในชุมชนการทำประมงพื้นบ้านที่ทำงานร่วมกันแบบคลัสเตอร์(Industry value chain) และการจัดการห่วงโซ่คุณค่าโลก (Global value chain) นอกจากนี้ตัวแบบห่วงโซ่คุณค่ายังสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือ สำหรับการวัดเปรียบเทียบสมรรถนะ (Benchmarking) ซึ่งเป็นการวัดผลการดำเนินงานของชุมชนการทำประมงพื้นบ้านเปรียบเทียบกับมาตรฐานของอุตสาหกรรมหรือเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นที่องค์กรใช้เป็นต้นแบบ
อ้างอิง
Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย หัวข้อวิจัยห่วงโซ่อุปทาน