วิจัยรปศ.
แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการทำวิจัย วิจัยรปศ. วิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยรปศ. วิทยานิพนธ์รปศ. วิจัยปริญญาโทรปศ.
วิทยาินพนธ์ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ วิจัยรปศ.
สำหรับผู้ที่ศึกษานอกสายงานรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสาตร์ อาจมีความสับสน หรือ เข้าใจผิดเกี่ยวกับงานวิจัย “การบริหารนโยบายสาธารณะ” ว่าแท้ที่จริงแล้วขอบข่ายอยู่ในรัฐศาสตร์ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ บทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับ การทำวิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ และ การทำวิจัยเกี่ยวกับการบริหารนโยบายสาธารณะ
การศึกษาในสาขา รัฐศาสตร์จะเรียนเรื่องการเมือง การปกครอง การเข้าสู่อำนาจ การลงจากอำนาจ ส่วน รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องการบริหาร การบริหารภาครัฐทั้งหมด สำหรับ ประเทศไทยจะเรียนเรื่องการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น สาขาเอกย่อยๆ
1.นโยบายสาธารณะ
2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
3.องค์การและการจัดการ
4.กระบวนการยุติธรรม
และยังเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับ Thailand 4.0 ประชาคมอาเซียน ทักษะทางด้านภาษาและเทคโนโลยีทางด้านไอที เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานของบัณฑิตในอนาคต
นโยบายสาธารณะเป็นขอบข่ายหนึ่งของ การศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งหมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทำ หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐซึ่งได้ทำการตัดสินใจและกำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้นำการกระทำที่ตามมาให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ด้วยการวางแผน การจัดทำโครงการ การกำหนด
วิธีการบริหารหรือกระบวนการดำเนินงาน การปฏิบัติงานที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและความต้องการของประชาชน
รัฐประศาสนศาสตร์ สามารถแนกเป็น 4 ลักษณะคือ กิจกรรมแห่งรัฐบาล ทางเลือกสำหรับการตัดสินใจของรัฐบาล แนวทางในการกระทำของรัฐบาล และ กฎหมาย สำหรับกรอบแนวคิดการศึกษา นโยบายสาธารณะ สามารถสรุปออกเป็น 3 แนวคิด ได้แก่ การศึกษาทฤษฎี หรือ ตัวแบบของนโยบายขอบเขตของนโยบาย และกระบวนการของนโยบาย กระบวนการทำวิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ จึงอยู่ในกรอบของตัวแปรที่อยู่ใน 3 แนวคิดดังกล่าวนี้
นโยบายสาธารณะเป็นขอบข่ายหนึ่งของการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์หรือ การบริหารรัฐกิจ (Public Administration: PA) ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะเรื่องของการดำเนินงานของระบบราชการเพื่อให้บริการประชาชนด้วยความเสมอภาคและยุติธรรม มีวิวัฒนาการ
เปลี่ยนกรอบความคิดทางด้านรัฐประศาสนศาสตร์มาหลายครั้ง (สัญญา เคณาภูมิ, 2558) ดังนี้
ครั้งที่ 1 เรียกว่า The Politics/Administration Dichotomy เป็นจุดเริ่มต้นที่พยายามแยกตัวรัฐประศาสนศาสตร์ ออกจากรัฐศาสตร์
สำหรับครั้งที่ 2 เรียกว่า Principles of Public Administration (1927-1937) เรื่องหลักการการบริหาร
ส่วนครั้งที่ 3 : Public Administration as Political Science (1950-1970) รัฐประศาสนศาสตร์คือ รัฐศาสตร์
ต่อมาครั้งที่ 4 : Public Administration as Management (1956-1970) รัฐประศาสนศาสตร์คือการจัดการ
ครั้งสุดท้ายคือครั้งที่ 5 : Public Administration as a Public Administration (1970-1990) รัฐประศาสนศาสตร์คือ รัฐประศาสนศาสตร์ ครั้งที่6 : Governance (1990-ปัจจุบัน) หรือการจัดการภาครัฐ (Public Management)
ส่วนแนวโน้มในอนาคตขอบข่ายการศึกษา PA จำเป็นต้องศึกษาภารกิจการจัดการภาครัฐและเนื้อหาวิชาให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
อย่างไรก็ตาม Robert T. Golembiewski (1995, p. 240-246) ได้ยกเอาน โยบายสาธารณ ะ (Public policy) มาเป็นกรอบแนวคิดพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงวิชาการเพื่อจะ ทราบว่ารัฐบาลทำอะไร เหตุใดจึงกำหนดนโยบายนั้น และส่งผลกระทบอย่างไร และการศึกษาเชิงวิเคราะห์ นโยบายสาธารณะใช้เป็นพื้นฐาน ประกอบการตัดสินใจเลือกดำเนินนโยบายซึ่งเป็นภารกิจของ นักวิเคราะห์นโยบายหรือนักวางแผน สอดคล้องกับ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2556, น. 3) ได้ระบุถึงขอบเขต ประเด็นหลักของรัฐประศาสนศาสตร์คือ นโยบายสาธารณะ ได้แก่
(1) ในมิติของกิจกรรมทุกอย่างที่รัฐ
ดำเนินการ เช่น การป้องกันประเทศ การยุติธรรม การจัดการศึกษา การสาธารณะสุข การดูแลความสงบ เรียบร้อยภายใน การคมนาคม การพาณิชย์ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ฯลฯ
(2) นโยบายสาธารณะก็เป็นหนึ่งมิติของศาสตร์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ส่วน สัญญา เคณาภูมิ(2557, น. 2-10)กล่าวถึงขอบเขตการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย (1) ภารกิจ (Tasks) หมายถึง สิ่งที่รัฐจะต้องท าให้เกิดมีขึ้นและมีความสมบูรณ์ไปอย่างต่อเนื่องเรียกว่า สินค้าและบริการสาธารณะ (2) วิธีการ(Mean)การผลิตและส่งมอบสินค้าและบริการสาธารณะ เรียกว่า วิทยาการบริหาร เช่น กระบวนการบริหาร ทรัพยากรการบริหาร จิตวิทยาการบริหาร เทคนิคการบริหาร และผลของการบริหาร หรือการดำเนินงาน และ (3) ตัวแสดง (Actors) ผู้มีบทบาทหน้าที่ในการขับเคลื่อนภารกิจของรัฐ จำแนกได้2 ประเภท ได้แก่ องค์การหรือหน่วยงานต่างๆ และ คนหรือทรัพยากรมนุษย์
คนทุกคนที่อยู่ในรัฐ หรือ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของรัฐ นอกจากนั้น อุทัย เลาหวิเชียร (2550, น. 38-42) ระบุว่า การเมืองและนโยบายสาธารณะก็เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์ เช่นเดียวกันกับ วรเดช จันทรศร (2543, น. 7-9) ที่กล่าวว่า วิชาวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์
ตัวอย่าง วิจัยรปศ. วิทยานิพนธ์รปศ.
ตัวอย่างเหล่านี้ ผู้วิจัยรวบรวมได้จากฐานข้อมูลวิจัย และ วิทยานิพนธ์ ด้านรปศ. ที่เผยแพร่ในระบบอินเทอร์เน็ต สำหรับใช้เป็นแนวทางการทำวิจัยรปศ. ดังนี้
หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์ งานวิจัยด้านรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารนโยบายสาธารณะที่น่าสนใจ ทันสมัย และตีพิมพ์ไม่เกิน 5 ปี มีดังต่อไปนี้
อ้างอิง
Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย