วิจัยการเงิน

วิจัย การเงิน วิทยานิพนธ์ การเงิน

วิจัย การเงิน หรือ วิทยานิพนธ์ การเงิน เป็นการใช้กระบวนการทำวิจัย ทีเ่ป็นระบบระเบียบ มีขั้นตอนการทำวิจัยเช่นเดียวกันกับ การทำวิจัย สังคมศาสตร์ ทั่วไป โดยศึกษาหาข้อเท็จจริง เกี่ยวกับความสัมพันธ์ และ อิทธิพลของปัจจัย หรือ ตัวแปรทางการเงินต่างๆ เช่น การเงินองค์กร ทฤษฎีการลงทุน ตลาดการเงิน ตลาดทุน ปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง หรือการเคลื่อนไหวของตัวแปรที่ต้องการศึกษา เช่น ดัชนีราคาหลักทรัพย์ ราคาหลักทรัพย์ ผลการดำเนินงาน อัตราส่วนทางการเงิน ต่างๆ เป็นต้น

การวิจัยทางการเงิน เป็นเครื่องมือหนึ่งในการแสวงหาคำตอบ สำหรับปัญหาในศาสตร์ทางการเงินแขนงต่าง ๆ  การวิจัยทางการเงิน การพัฒนาหัวข้อการวิจัยทางการเงิน การออกแบบทางการวิจัยทางการเงิน การนำเสนอผลการวิจัย ตลอดจนประเด็นเกี่ยวกับจรรยาบรรณ ประเด็นการวิจัยทางการเงิน รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีต่อการวิจัยทางการเงิน ล้วนแล้วแต่เป็นขอบข่าย การทำวิจัยการเงิน ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ผู้วิจัยต้องมีเพื่อใช้เป็นฐานคิดในการดำเนินการวิจัยทางการเงิน ทั้งนี้ผลการวิจัยจะเป็นข้อมูลสำคัญในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา การกำหนดนโยบายและจัดสรรทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม อันจะนำไปสู่การพัฒนาภาคการเงินและประเทศในมิติที่เกี่ยวข้องได้อย่างยั่งยืน

โครงสร้างหลัก ของการทำ วิจัย การเงิน

1. การกำหนดหัวข้อการวิจัย
2. การทบทวนวรรณกรรม
3. กรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย
4. การออกแบบการวิจัยทางการเงิน
5. ประชากรและตัวอย่าง
6.เครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล
7. การนำเสนอผลการวิจัย
8.การเขียนรายงานวิจัย
9.การเผยแพร่ผลการวิจัย

หัวข้อ วิจัยการเงิน วิทยานิพนธ์การเงิน ที่น่าสนใจ

  • การวิเคราะห์ความเสี่ยง และ อัตราผลตอบแทนของดัชนีราคาหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ.2540 – 2564
  • การศึกษาการส่งผ่านความผันผวน (Volatility Transmission) ของตลาดหลักทรัพย์ ที่สำคัญในตลาดโลกมายัง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET)
  • การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อตราสารอนุพันธ์ (Warrant) ที่ออกจำหน่าย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2560 – 2565
  • การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์  ในหมวดอสังหาริมทรัพย์ เปรียบเทียบ กับ หมวดธุรกิจโรงแรมและที่พัก
  • การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของ สหกรณ์ออมทรัพย์ แห่งหนึ่ง โดยใช้แบบจำลอง CAMEL 
  • การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการพยากรณ์ของตัวแบบ ARMA  ARIMA  GARCH(1,1) EGARCH และ  BIVARIATE-GARCH  ของหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ กลุ่ม SET 100
  • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวด้านการเงินของประชาชน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 – 2022
  • การวางแผนทางการเงินเพื่อวัยเกษียณ ของกลุ่มคนวัยทำงาน อายุระหว่าง 25-45 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร
  • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว (Cointegration) และ การปรับตัวระยะสั้น (Error Coreection Model  : ECM) ของปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค และ อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในกลุ่ม SET50
  • การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ คุณภาพของกำไร บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุ่ม MAI

เครื่องมือที่สำคัญสำหรับ การทำวิจัยการเงิน ถือได้ว่ามีความจำเป็น ควบคู่ไปกับพื้นฐานความรู้ทางการเงิน  คือ  ทักษะการใช้โปรแกรม  การวิเคราะห์ ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเกือบทั้งหมด  เป็นข้อมูลทุติยภูมิ  Secondary  Data  แบบ อนุกรมเวลา หรือ Time  Series  Data  ซึ่งมีทั้งประเภท รายปี annual  รายไตรมาส  quarterly  รายเดือน  monthly หรือแม้กระทั่งข้อมูลรายวัน  daily

ข้อมูลเหล่านี้มักเป็นข้อมูลที่ปรากฎในตลาดการเงินและตลาดทุน  เช่น  ราคาหลักทรัพย์  ดัชนีราคาหลักทรัพย์  ดัชนีตลาดหลักทรัพย์  ความเสี่ยง  อัตราผลตอบแทน  ความผันผวน  ราคาปิด  ราคาเปิด  ประมาณซื้อขาย  การซื้อขายของนักลงทุนสถาบัน  นักลงทุนต่างประเทศ  นักลงทุนรายย่อย  เป็นต้น  ซึ่งนักศึกษา ที่ทำวิจัยด้าน การเงิน ควรเตรียมหาแหล่งข้อมูลเหล่านี้ไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อให้สามารถทำงานเสร็จในเวลาอันรวดเร็ว

สำหรับ ข้อมูลที่มักถูกนำมาใช้เป็นตัวแปร หรือ ปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของราคาหลักทรัพย์  ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ ปัจจัยเศรษฐกิจ หรือ ปัจจัยเศรษฐกิจมหภาค  Macro  Economic  Variable  ที่สำคัญๆ  ประกอบด้วย  อัตราดอกเบี้ย  อัตราแลกเปลี่ยน  อัตราเงินเฟ้อ  ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค  ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ผลิต  ผลผลิตมวลรวมประชาชาติเบื้องต้น หรือ GDP  เป็นต้น

ตัวอย่าง การทำวิทยานิพนธ์การเงิน ในต่างประเทศ และที่เกี่ยวกับโควิด-19

  1. An Empirical Analysis of Nordic Publicly Listed Firms in the COVID-19 Stock Market
  2. The role of risk in investment behaviour and the manifestation of behavioural biases by individual investors.
  3. การวิเคราะห์ ESG-investmentsในช่วงของการเกิดการแพร่ระบาดโควิด19
  4. การวิเคราะห์ ความเสียง และอัตราผลตอบแทน ของตลาดหลักทรัพย์ ประเทศมาเลเซีย ในช่วงสถานการณ์  การแพร่ระบาดของไวรัส โควิด – 19 ด้วยแบบจำลอง CAPM 

  5.  การวิเคราะห์ผลกระทบ ของการแพร่ระบาดไวรัสโควิด-19 ที่มีต่อราคาหลักทรัพย์ด้วยวิธีการทดสอบแบบ Event Study กรณีศึกษา ตลาดหลักทรัพย์ประเทศเวียดนาม   

ชื่อเรื่องวิจัย หรือ หัวข้อวิจัย ทางด้านการเงินเหล่านี้  ถือได้ว่า เป็นหัวข้อที่น่าสนใจอย่างยิ่ง  นอกจากจะเป็นการวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากสถานการณ์โควิด-19  แล้ว  ยังมีการประยุกต์ใช้แบบจำลองทางเศรษฐมิติ ที่น่าสนใจ  สามารถประยุกต์ใช้กับบริบทในประเทศไทย หรือแม้แต่การเปลี่ยนการกำหนดตัวแปร  เช่น แบ่งการวิเคราะห์ช่วงเวลา เป็นช่วงก่อนเกิดและหลังเกิด  โดยให้เส้นแบ่งเป็นตัวแปรหุ่น หรือ  Dummy  Variable  แทนที่การวิเคราะห์แบบช่วงเวลาเดียว

 

 

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย การเงิน
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย การเงิน

อ้างอิง

  1. รับทำวิจัย
  2. รับทำวิทยานิพนธ์
  3. รับทำวิจัย
  4. ฐานข้อมูลดุษฎีนิพนธ์
  5. วิจัยmba
  6. รายชื่อวิจัยป.เอก

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss บทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย