รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์

รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์  สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์ด้านเศรษฐศาสตร์  โดยนักเศรษฐศาสตร์โดยตรง  ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ และ ทักษะการใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องดีเยี่ยม เช่น การวิเคราะห์ ด้วย EVIEW และ STATA

บริการปรึกษาการทำวิจัย  รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์   สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์  หัวข้อวิจัยเศรษฐศาสตร์ และดุษฎีนิพนธ์ วิจัยปริญญาเอกด้านเศรษฐศาสตร์ รับทำสารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์ แบบผู้ช่วยวิจัย และที่ปรึกษา ทุกขั้นตอน 

รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ รับทำวิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ รับทำสารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์
รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ ปรึกษาวิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์

รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์  สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์  หัวข้อวิจัยเศรษฐศาสตร์ ตั้งแต่การกำหนดหัวข้อวิจัย การสืบค้นข้อมูลวิจัยปริญญาเอก ด้านเศรษฐศาสตร์ต่างประเทศ  การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนผลการศึกษา จนถึงสอบปิดเล่ม และเป็นผู้ช่วยเตรียมเอกสาร และแก้ไข เพื่อการส่งตีพิมพ์บทความด้านเศรษฐศาสตร์ในต่างประเทศ มีประสบการณ์   โดย นักวิจัยมืออาชีพ 

ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ รวบรวมเนื้อหา แนวคิด ทฤษฎี บริบท ของสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อนำไปสู่การกำหนด หัวข้อ “Research Topic” ด้านเศรษฐศาสตร์ ที่น่าสนใจ มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน  เพื่อนำเสนอหัวข้อวิจัยที่ดีและมีแนวโน้มที่จะสามารถทำวิจัยในหัวข้อนี้ต่อไปได้อย่างราบรื่น

เป็นผู้ช่วย ด้านการสืบค้นข้อมูล  สืบค้นทฤษฎี แนวคิด หลักเกณฑ์ หลักการ บริบทด้านสถานการณ์  งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ด้านเศรษฐศาสตร์  จากฐานข้อมูลระดับโลก ซึ่งสามารถสืบค้น รวบรวม และเรียงเรียบ การนำเสนอให้สามารถนำเนื้อหา ไปใช้ต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ  สามารถอ่านและทำความเข้าใจได้ง่าย  ประหยัดเวลา รวดเร็ว ถูกต้องตามการทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์

รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์
รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์

รับทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  รับทำวิทยานิพนธ์สาขาเศรษฐศาสตร์  และดุษฎีนิพนธ์เศรษฐศาสตร์  โดยนักวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  ที่มีความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์การทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์โดยตรง

การทำงานวิจัย ทั้งระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ในสาขา เศรษฐศาสตร์  ทั้งเศรษฐศาสตร์การเงิน FINANCIAL  ECONOMICS  MONETARY  ECONOMICS  เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ INTERNATIONAL ECONOMICS  เศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ  INTERNATIONAL  TRADE  ECONOMICS รวมถึง เศรษฐศาสตร์การจัดการ  เศรษฐศาสตร์ทุนมนุษย์  เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์โครงการ  ฯลฯ  แตกต่างจากการทำวิจัย ด้าน บริหารธุรกิจ  การจัดการ การตลาด การเงิน รัฐศาสตร์ การจัดการภาครัฐ โดยสิ้นเชิง

การเขียน และ เรียบเรียง เนื้อหาทุกบรรทัด ทุกย่อหน้า ของงานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  จะมีคำศัพท์  วลี  และลักษณะเฉพาะ ที่เป็นงานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  หากนักวิจัย เขียนงานเนื้อหา และเรียงเรียงงาน ที่เป็นงานที่เรียกว่าออกแนวการจัดการ  การบริหาร  รัฐศาสตร์  ซึ่งบางแนวคิด บางทฤษฎี จะมีการใช้แนวคิดและทฤษฎี ร่วมกัน  แต่ต้นกำเนิด หรือ สำนักด้านเศรษฐศาสตร์  จะมีการวิเคราะห์ และพัฒนาการ ทฤษฎีที่แสดงถึงความเป็นเศรษฐศาสตร์โดยเฉพาะ

งานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์จำนวนมาก  ที่ไม่ได้ถูกปรับตก หรือต้องนำกลับมาแก้ไข แบบรื้อทั้งเล่ม  รื้อทั้งบท รื้อทั้งโครงร่าง  เนื่องจาก การเขียนงาน การเรียบเรียงเนื้อหา ไม่ใช่ลักษณะของการทำงานด้านเศรษฐศาสตร์  ถึงแม้จะเป็นการทำวิจัยในหัวเรื่องเดียวกัน หรือ คล้ายคลึงกัน

เช่น งานวิจัยด้านการเงิน  ที่มักจะมีการนำแนวคิด และ ทฤษฎีด้านเศรษฐศาสตร์ เป็นแนวคิดหลักสำหรับการกำหนดตัวแปร  แต่ลักษณะการเขียนงาน ต้องมีการดึงเนื้อหาที่บ่งบอกที่ชัดเจนว่างานชิ้นนี้เป็นเศรษฐศาสตร์  ซึ่งคณะกรรมการ ที่ควบคุมงาน จะค่อนข้างให้ความสำคัญเรื่องนี้มาก

การทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  การทำวิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ และดุษฎีนิพนธ์ด้านเศรษฐศาสตร์ เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ที่สามารถนำแนวคิดและทฤษฎีด้านเศรษฐศาสตร์ ไปใช้ประโยชน์กับสถานการณ์จริง

คนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะผู้ที่ไม่ใช่ทำงานในแวดวงวิชาการ  มักมีความเข้าใจที่ผิด หรือ คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง  ว่างานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์ด้านเศรษฐศาสตร์  เป็นงานวิจัยบนหิ้ง  เข้าใจยาก  อ่านยาก  และการนำผลการศึกษา ข้อสรุปวิจัย มาใช้ประโยชน์จริงนั้นทำได้ยาก  ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเสียดายมาก

งานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์เป็นการนำแนวคิด และ ทฤษฎี ด้านเศรษฐศาสตร์  มาพิสูจน์ หรือ ตรวจสอบถ้วย ข้อมูลจริง หรือสถานการณ์จริง Empirical  Evidence

ในความเป็นจริง  การอ่านงานวิจัย บทความวิจัย รายงานการวิจัย ด้านเศรษฐศาสตร์  ไม่แตกต่างจาก งานวิจัยด้านอื่นๆ หรือ สาขาที่ใกล้เคียงกันในบางมิติ เช่น งานวิจัย ด้านบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ  การตลาด การเงิน ทรัพยากรมนุษย์  การค้าระหว่างประเทศ

กล่าวคือ งานวิจัยที่อยู่ในแขนงสาขาย่อย เหล่านี้  ปรากฎในหลักสูตร หรือ การเรียนการสอน หรือ เป็นรายวิชา ที่ศึกษาในคณะเศรษฐศาสตร์ เช่นเดียวกัน  แต่เมื่อศึกษาให้ละเอียด ลึกซึ้งแล้ว  จะพบว่ามีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก

สิ่งที่ค่อนข้างแตกต่าง และทำให้ผู้อ่าน ที่ไม่มีพื้นฐานความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์รู้สึกว่ายาก คือ ทฤษฎี และ แนวคิด ด้านเศรษฐศาสตร์ ที่เป็นอมตะ และสำคัญๆ จะเป็น ทฤษฎี ที่สามารถพิสูจน์ หรือ อนุมานได้ด้วย การทดสอบ ด้วยกฎของ คณิตศาสตร์  สถิติ และเศรษฐมิติ

ยกตัวอย่าง เช่น ทฤษฎีอุปสงค์ ทฤษฎีอุปทาน  การวิเคราะห์เส้นต้นทุนการผลิต  การผลิตระยะสั้น AC  และ เส้นต้นทุนการผลิตระยะยาว  TC  เป็นต้น

รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์
รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์

เทคนิคการทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์  วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์เศรษฐศาสตร์ รวมไปถึงงานวิจัยที่มีขอบเขตการศึกษาที่แคบลงมา เช่น ค้นคว้าอิสระ ปัญหาพิเศษ และรายงานด้านเศรษฐศาสตร์

การทำวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ ในทุกๆระดับ  มีพื้นฐาน เทคนิค วิธีการ ไม่แตกต่างจากการทำวิจัยสังคมศาสตร์ หรือ พฤติกรรมศาสตร์ทั่วไป  โดยต้องอาศัยพื้นฐานความรู้ในศาสตร์นั้นๆ สำหรับด้านเศรษฐศาสตร์  สำหรับในระดับมหาบัณฑิต  มีการเปิดสอนหลักสูตรที่ได้รับความนิยม ได้แก่  เศรษฐศาสตร์การเงิน เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์โครงการ  เศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ  เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์  เศรษฐศาสตร์แรงงาน  เศรษฐศาสตร์การเมือง  เป็นต้น

วิชาแกน หรือ วิชาหลัก  ที่ทุกสาขาต้องเรียนร่วมกันใน เทอมแรก หรือ ปีแรก คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาค  Micro  Economics  เศรษฐศาสตร์มหภาค  Macro  Economic   วิธีวิจัย  และ เศรษฐมิติเบื้องต้น  Fundamental  Econometrics   และอาจจะมีวิชา นโยบายสาธารณะ เป็นวิชาบังคับที่ต้องเรียนร่วมกันด้วย

ส่วนวิชาที่เรียนแตกต่างกันไป เป็นวิชาเอก เช่น ทฤษฎีตลาดทุน  ทฤษฎีตลาดเงิน  การเงินทุนธุรกิจ  การเงินองค์กร  การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการลงทุน หรือ ความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย์   นโยบายการเงิน  นโยบายการคลัง  การวิเคราะห์โครงการ  เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ  เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ  ทุนมนุษย์  เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ เป็นต้น

งานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ เกือบทั้งหมดจะเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ หรือ Quantitative  Research  และ อาจมีการวิจัยเชิงคุณภาพร่วมด้วย สำหรับการศึกษาในระดับปริญญาเอก  ซึ่งในส่วนของการทำวิจัยเชิงปริมาณเอง จะมุ่งเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ แบบอนุกรมเวลา หรือ อาจจะมีการใช้แบบสอบถาม เพื่อการรวบรวมข้อมูลด้วย เช่น งานวิจัยที่มุ่งเน้นศึกษาปัจจัยหรือผลกระทบที่ส่งผลต่อบุคคล หรือ กลุ่มบุคคล โดยตรง  เช่น  การศึกษาความเต็มใจจะจ่ายในการอนุรักษ์ป่าชายเลน  การวิเคราะห์พฤติกรรมการออม  พฤติกรรมการเลือกลงทุน  ซึ่งหัวข้อเหล่านี้สามารถใช้แบบสอบถามรวบรวมข้อมูล แทนการวิเคราะห์ข้อมูลทุตยภูมิได้

สำหรับการทำวิจัยที่วิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา  ย่อมปฏิเสธทักษะด้านคณิตศาสตร์ สถิติ และเศรษฐมิติไม่ได้  เพราะการกำหนดแบบจำลองที่ปรากฎในหลักสูตรด้านเศรษฐศาสตร์  จะมีความยุ่งยาก และซับซ้อนมากกว่าหลักสูตรบริหารธุรกิจ  เพราะถือว่าผู้ที่เรียนในหลักสูตรนี้ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจปรากฎการณ์ต่างๆ ผ่านการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในรูปแบบของตัวแปรต่างๆ ในสมการ  และการทำความเข้าใจเนื้อหานี้ จะอยู่ในการเรียนวิชาเศรษฐมิติ เรียบร้อยแล้ว

หัวข้อวิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ที่น่าสนใจ

รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ รับทำวิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์
รับทำวิจัยเศรษฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์ สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์