การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

เทคนิค วิธีการ การเตรียมตัว การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

 การสอบป้องกัน หรือเรียกว่า Defense Examination เป็นการสอบจบผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งเป็นการรวบรวมสังเคราะห์ข้อมูลวิจัยที่ได้ดำเนินการมา ซึ่งผู้วิจัยจะต้องรวบรวมความคิดทั้งหมดอย่างเป็นระบบ สามารถตอบคำถามคณะกรรมการสอบในมิติต่างๆ ในด้านวิชาการ เนื้อหา และด้านข้อมูลทางสถิติงานวิจัย เป็นต้น  ซึ่งกระบวนการสำหรับ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ จึงมีรายละเอียดตามที่ได้กล่าวไปแล้

การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะมีสิทธิ์สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ มีดังนี้

 1. ลงทะเบียนเรียนครบถ้วนตามหลักสูตรที่กำหนดไว้ และมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่ต่ำกว่า 3.00  สำหรับหลักสูตรต่อไปนี้
              1) ปริญญามหาบัณฑิต แผน ก2 และ แผน ข
              2) ปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2
       2. กรณีสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์ ต้องดำเนินการหลังจากได้รับอนุมัติโครงร่าง ไม่น้อยกว่า 90 วัน
       3. กรณีสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ ต้องดำเนินการหลังจากได้รับอนุมัติโครงร่าง ไม่น้อยกว่า 45 วัน        
       4.สอบผ่านการสอบวัดมาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษาตามเงื่อนไขการสำเร็จการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ตามประกาศมหาวิทยาลัย  เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยนั้นๆ
       5. นักศึกษา แผน ข (การค้นคว้าอิสระ) ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้เรียบร้อยแล้ว

เทคนิคการเตรียมตัว การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

  • เตรียมเอกสาร/แบบฟอร์มต่างๆ ที่ใช้ในการสอบครับ  
  • จัดเนื่อหาการนำเสนอ    
  • จัดเวลาให้ดี  เช่น นำเสนอ + Demo 50 นาทีเป็นต้อง ที่เหลือให้คณะกรรมการสอบถาม   
  • Practice Makes Perfect – ซ้อม แล้วให้มีคนแนะนำติชม  เช่น ลองซ้อมกับ Zoom ก่อน จะได้รู้ข้อจำกัด  หรือปรับเวลาให้เหมาะสม เนื่องจากรอบแรกที่นำเสนอ + Demo อาจจะเกินเวลา เช่น  85 นาที 
  • ในกรณีที่เป็น การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ผ่านระบบออนไลน์ จะต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆ เช่น Windows Update   หรือปัญหา Network หาทางสำรองไว้  เตรียมมือถือไว้เป็นเนตสำรอง ถ้าวันสอบ Network ที่บ้านมีปัญหาจริงๆ
คำถามที่มักเจอสำหรับการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
  • งานวิจัยที่มีประโยชน์(Contribute) อะไรให้กับวงการบ้าง เช่น สร้างองค์ความรู้ใหม่ / พัฒนาอัลกอริทึมใหม่ สร้างเครื่องมือ เป็นต้น
  • แนวคิดของงานตัวเอง หนักแน่น หรือไม่ อาจจะโดยกรรมการถาม การตอบต้องมีหลัก หรือ ทฤษฏี รองรับด้วย บางจุดสามารถตอบตามสัญชาตญาณไป ซึ่งมันอาจจะถูก แต่ไม่หนักแน่น
  • การทำงานของอัลกอรืทึม หรือ เครื่องมือที่สร้าง เช่น เป็นการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ เกี่ยวกับการออกแบบระบบสารสนเทศ ซึ่งต้องสร้างอย่างเครื่องมือของผมมีการทำงานเชื่อมกับ BPMN Engine (Open Source) อาจมีคำถามจากกรรมการว่า มีหลักการทำงานอย่างไร แล้วส่วนที่เราทำในงานวิจัย เราเขียนเองในเครื่องมือของเรา หรือ Open Source มันทำมาให้แล้ว
  • คณะกรรมารช่วยตรวจสอบงานเขียน อาจจะมคำถามว่าส่วนที่เขียนมา ต้องการสื่อสารอะไรให้กับผู้อ่าน  เพราะ เราต้องรับผิดชอบกับงานเขียนของตัวเองด้วย

 

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

อ้างอิง

  1. รับทำวิจัย
  2. รับทำวิทยานิพนธ์
  3. รับทำวิจัย
  4. ฐานข้อมูลดุษฎีนิพนธ์
  5. วิจัยmba
  6. รายชื่อวิจัยป.เอก
  7. เทคนิคการเขียนแผนธุรกิจ
  8. เทคนิคแผนธุรกิจ

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss บทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย