การทำวิจัยรัฐศาสตร์
แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการ การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์ และปริญญานิพนธ์รัฐศาสตร์
การทำวิจัยรัฐศาสตร์
การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์
การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์
การวิจัยทางรัฐศาสตร์ อธิบายถึงการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ โดยในส่วนแรกจะเป็นการอธิบายโดยสังเขปว่ารัฐศาสตร์คืออะไรและมีขอบเขตการศึกษาครอบคลุม ถึงประเด็นใดบ้าง ต่อจากนั้นจะเป็นการอธิบายถึงความหมายของการวิจัย การวิจัยทางรัฐศาสตร์ และความหมาย ความสําคัญและประโยชน์ของการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ ในส่วนต่อไป จะอธิบายถึงลักษณะที่ดีของการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์และลักษณะของการศึกษาที่ไม่ถือว่า เป็นการวิจัย ในส่วนท้ายของบทจะเป็นการอธิบายถึงจรรยาบรรณของนักวิจัย
กระบวนการในการทำวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์
การทําวิจัยด้านรัฐศาสตร์ จําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องจัดทําให้ถูกต้องตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีระเบียบแบบแผนที่เป็นที่ยอมรับตามหลักวิชาการ ดังนั้นการทราบถึงขั้นตอนหรือกระบวนการในการทําาวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์จึงเป็นสิ่งที่สําาคัญอย่างยิ่งเนื่องจากจะทําาให้ผู้วิจัยสามารถทราบถึงการจัดลําาดับขั้นตอนและกระบวนการของ การทําาวิจัยได้อย่างเหมาะสม
ปัญหาการวิจัย ชื่อเรื่องงานวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์
ปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ (Qunititative research question in Political Science) หมายถึง ประเด็นทางรัฐศาสตร์ที่นักวิจัยมีความสงสัยและต้องการคําตอบจากข้อสงสัยนั้น การกําหนดปัญหาการวิจัยมีความสําคัญมากที่สุดในการทําวิจัยเนื่องจากสามารถเอื้อให้การวิจัยนั้น ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เป็นอย่างดี และมีปัญหาในการดําเนินการน้อยที่สุด
ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างมากกับการกําหนด วัตถุประสงค์และสมมติฐาน โดยอาศัยวิธีการทบทวนทฤษฎี แนวคิดและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับการวิจัยทางรัฐศาสตร์ ดังนั้นหากผู้วิจัยสามารถกําหนดปํญหาการวิจัยได้ดี มีความเหมาะสม และสามารถเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ก็จะทําให้การทํางานของผู้วิจัยนั้นมีปัญหาและ/หรืออุปสรรค น้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม การกําหนดปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์อาจจะเป็นปัญหาใหญ่ อันดับต้น ๆ ของนักวิจัยที่มีประสบการณ์น้อย โดยในการเริ่มทําวิจัยนั้นนักวิจัยหน้าใหม่นั้น อาจจะมีความลําบากและความสับสนในช่วงแรก โดยไม่ทราบว่างานวิจัยของตนนั้นจะต้องเริ่ม จากอะไร และจะต้องทําสิ่งใดเป็นสิ่งแรกเพื่อให้ได้มาซึ่งปัญหาการวิจัย เนื่องจากในปัจจุบันนี้มีงานวิจัย
ข้อมูลและตัวแปรในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์
ในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์นั้น ประเด็นสำคัญประการหนึ่งที่ผู้วิจัยจำเป็น ต้องมีความรู้อย่างถูกต้องและลึกซึ้งคือประเด็นเรื่องข้อมูลและตัวแปร ดังนั้นรายละเอียดในบทที่ 6 จะเป็นการอธิบายประเด็นทั้งสองประเด็น ได้แก่
1) ข้อมูล และ
2) ตัวแปร โดยในส่วนแรกจะเป็น การอธิบายถึงความหมายและประเภทของข้อมูล และในส่วนที่สองจะเป็นการอธิบายถึงความหมาย ประเภทและมาตราหรือระดับการวัดของตัวแปร
โดยทั้งสองส่วนมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ความหมายของข้อมูล ข้อมูล (Data) คือ รายละเอียด ข้อเท็จจริงหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดขึ้นที่สามารถ แสดงออกมาได้หลายรูปแบบ เช่น ในรูปของภาพ ข้อความ หรือตัวเลข ในการทำวิจัยทุกครั้งข้อมูล จะถูกเก็บรวบรวมโดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างผสมผสานกันตามความเหมาะสม ของข้อมูล และนำมากระทำตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย เช่น พรรณนา เปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ อธิบาย หรือสร้างแบบจำลอง เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (Neuman, 2007, p. 7; Schreiber and Asner-Self, 2011, p. 230)
เครื่องมือการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์
ในการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐตาสตร์นั้นผู้วิจัยสามารถใช้เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลได้หลายประเภท โดยในการวิจัยเรื่องหนึ่งอาจใช้เครื่องมือในการวิจัยเพียงประเภทเดียว หรือจะใช้เครื่องมือมากกว่า 1 ประเภทก็ได้ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของบทที่ 8 คือ การอธิบายถึง รายละเอียดของเครื่องมือการวิจัย 5 ประเภท ได้แก่ 1) แบบทดสอบ 2) แบบสอบถาม 3) แบบวัดเจตคติ 4) การสัมภาษณ์ และ 5) การสังเกต
เพื่อให้ผู้วิจัยได้รับทราบรายละเอียดและนำไปประยุกต์ ใช้ในงานวิจัยของตน ซึ่งมีรายละเอียดตามลำดับดังต่อไปนี้ เครื่องมือการวิจัย เครื่องมือการวิจัย หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลหรือวัดค่าตัวแปร ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ทั้งนี้ ในการศึกษาวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์ไม่สามารถที่จะสร้างเครื่องมือสำหรับ วัดสิ่งที่มีความเป็นนามธรรมได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์และครบถ้วน
ดังนั้น ในการวัดสิ่งที่เป็นนามธรรมนี้ ผู้วิจัยจำเป็นต้องสร้างเครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลหรือวัดค่าตัวแปรขึ้นมาเอง ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และเครื่องมือการวิจัยก็ได้ถูกสร้างและพัฒนาโดยมีหลายรูปแบบ ได้แก่ 1) แบบทดสอบ (Test) 2) แบบสอบถาม (Questionnaire) 3) แบบวัดเจตคติ (Attitude) 4) การสัมภาษณ์ (Interview) 5) การสังเกต (Observation)
ในการวิจัยทางรัฐศาสตร์หากผู้วิจัยออกแบบการวิจัยให้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ หรือการวิจัยผสมผสานระหว่างงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพก็มีความจำ เป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักสถิติ การอธิบายถึงความหมาย ของสถิติ ประเภทของสถิติและรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและที่สำคัญนักวิจัยต้องมีทักษะ และความสามารถในการนำสถิติมาประยุกต์ใช้ในการนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยของตนให้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของสถิติ ความหมายของสถิติมี 2 นัยยะ ใหญ่ ๆ ดังนี้ นัยยะที่ 1 สถิติ หมายถึง ตัวเลข (numeral) ที่แสดงข้องเท็จจริงของข้อมูล (numerical facts) เรื่องใดเรื่องหนึ่ง นัยยะที่ 2 สถิติ หมายถึง ศาสตร์ที่ใช้ในการดำเนินการศึกษาข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การตีความข้อมูลและการสรุปข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไป อ้างอิงไปยังลักษณะของประชากร
10 ไอเดีย หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์
5.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการปฏิบัติงานสืบสวนสอบสวนของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด
8.ทัศนคติของผู้มารับบริจาคต่อคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการร่วมระดับจังหวัด จังหวัดอุบลราชธานี
9.การพัฒนาท้องถิ่นตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ตัวอย่าง 10 หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ การทำวิจัยรัฐศาสตร์ ที่ได้รับการตีพิมพ์
1.การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
2.การก่อตัวและการปรับตัวของร้านเสื้อผ้ามือสอง ในบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของเมืองพะเยา
3.การขยายตัวของกลุ่มชนชั้นกลางในกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬาบริเวณลานอเนกประสงค์ เทศบาลเมืองพะเยา
5.ห้างสรรพสินค้ากับการก่อตัวของคนกลุ่มใหม่ในเมืองพะเยา
6.ภูมิปัญญาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนในจังหวัดพะเยา
9.การประเมินผลนโยบายกองทุนหมู่บ้าน กรณีศึกษา กองทุนหมู่บ้านในเขตอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
ขอบคุณข้อมูลดีๆ
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์
Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย