วิจัยรัฐศาสตร์

การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์

การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย เทคนิคและวิธีการ การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ การทำวิจัยปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ การทำวิจัย ป.เอก สาขารัฐศาสตร์ การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน รัฐศาสตร์ การวิจัยทางรัฐศาสตร์ เชิงปริมาณเป็นการแสวงหาความรู้ในสาขาต่างๆ ของรัฐศาสตร์ในเชิงประจักษ์ เพื่­อบรรยายลักษณะ ทำนายความสัมพันธ์ หรืออธิบายความสัมพันธ์เชิงตรรกะของปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ โดยการใช้ทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดทางรัฐศาสตร์และ/หรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการสร้างกรอบและดำเนินการศึกษา มีกระบวนการดำเนินงานและอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเน้นการใช้ตัวเลข เป็นหลักฐานและการวิเคราะห์เชิงสถิติ และอาศัยกฏของความน่าจะเป็นในการอธิบาย ผลการวิจัยให้มีความแม่นยำและเชื่อถือได้ กระบวนการในการทำวิจัยเชิงปริมาณด้านรัฐศาสตร์ ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วว่าการทําวิจัยด้านรัฐศาสตร์จําาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องจัดทําให้ถูกต้องตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีระเบียบแบบแผนที่เป็นที่ยอมรับตามหลักวิชาการ ดังนั้นการทราบถึงขั้นตอนหรือกระบวนการในการทําาวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์จึงเป็นสิ่งที่สําาคัญอย่างยิ่งเนื่องจากจะทําาให้ผู้วิจัยสามารถทราบถึงการจัดลําาดับขั้นตอนและกระบวนการของ การทําาวิจัยได้อย่างเหมาะสม ในบทนี้จะเป็นการอธิบายถึงกระบวนการและขั้นตอนในการทําาวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ว่าประกอบไปด้วยกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง และแต่ละขั้นตอนนั้นมีรายละเอียดอย่างไร ในส่วนท้ายของบทนี้จะยกตัวอย่างแผนการ ดําเนินการวิจัยเพื่อที่ผู้วิจัยสามารถนําไปประยุกต์ใช้เป็นกรอบระยะเวลาให้ผู้วิจัยสามารถดําาเนินงานวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบความสําเร็จในระยะเวลาที่กําาหนด ปัญหาการวิจัย ชื่อเรื่องงานวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ ปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ (Qunititative research question in Political Science) หมายถึง […]

การทำวิจัยด้านรัฐศาสตร์ Read More »

การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์ด้านรัฐศาสตร์

การทำวิจัยรัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย กระบวนการ การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์ และปริญญานิพนธ์รัฐศาสตร์ การทำวิจัยรัฐศาสตร์  การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์ การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ การวิจัยทางรัฐศาสตร์ อธิบายถึงการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ โดยในส่วนแรกจะเป็นการอธิบายโดยสังเขปว่ารัฐศาสตร์คืออะไรและมีขอบเขตการศึกษาครอบคลุม ถึงประเด็นใดบ้าง ต่อจากนั้นจะเป็นการอธิบายถึงความหมายของการวิจัย การวิจัยทางรัฐศาสตร์ และความหมาย ความสําคัญและประโยชน์ของการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ ในส่วนต่อไป จะอธิบายถึงลักษณะที่ดีของการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์และลักษณะของการศึกษาที่ไม่ถือว่า เป็นการวิจัย ในส่วนท้ายของบทจะเป็นการอธิบายถึงจรรยาบรรณของนักวิจัย กระบวนการในการทำวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์  การทําวิจัยด้านรัฐศาสตร์ จําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องจัดทําให้ถูกต้องตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีระเบียบแบบแผนที่เป็นที่ยอมรับตามหลักวิชาการ ดังนั้นการทราบถึงขั้นตอนหรือกระบวนการในการทําาวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์จึงเป็นสิ่งที่สําาคัญอย่างยิ่งเนื่องจากจะทําาให้ผู้วิจัยสามารถทราบถึงการจัดลําาดับขั้นตอนและกระบวนการของ การทําาวิจัยได้อย่างเหมาะสม  ปัญหาการวิจัย ชื่อเรื่องงานวิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ ปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์ (Qunititative research question in Political Science) หมายถึง ประเด็นทางรัฐศาสตร์ที่นักวิจัยมีความสงสัยและต้องการคําตอบจากข้อสงสัยนั้น การกําหนดปัญหาการวิจัยมีความสําคัญมากที่สุดในการทําวิจัยเนื่องจากสามารถเอื้อให้การวิจัยนั้น ประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เป็นอย่างดี และมีปัญหาในการดําเนินการน้อยที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างมากกับการกําหนด วัตถุประสงค์และสมมติฐาน โดยอาศัยวิธีการทบทวนทฤษฎี

การทำวิจัยรัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์ด้านรัฐศาสตร์ Read More »

หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง

หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง รัฐศาสตร เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับรัฐและสังคม การเมืองเปรียบเทียบแนวความคิด และระบบทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ก่อนที่จะไปถึงการเลือกชื่อ การเลือก หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง  ควรพิจารณาลักษณะของสาขาย่อยๆ ในรัฐศาสตร์  ซึ่งแยกออกเป็นสาขาต่าง ๆ ได้ดังนี้ 1.สาขาวิชาการเมืองการปกครอง การศึกษาในสาขานี้ มุ่งทำความเข้าใจกับปรากฎการณ์ทางการเมืองและสังคมที่แวดล้อมตัวเราอยู่ โดยจะเรียนเกี่ยวกับปรัชญาและความคิดทางการเมืองต่าง ๆ เช่น รัฐธรรมนูญ รัฐสภา พรรคการเมือง การเลือกตั้งและปัญหาทางการเมือง และสังคมที่สำคัญ ๆ เช่น ธุรกิจกับการเมือง ทหารกับการเมือง การเมืองของผู้ใช้แรงงาน ชาวนา ฯลฯ 2.สาขาการระหว่างประเทศ เป็นสาขาที่มุ่งทำความเข้าใจกับระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันนี้ความรู้ความเข้าใจในด้านนี้มีความสำคัญทั้งต่อภาครัฐบาลและภาคเอกชนเพราะแต่ละประเทศไม่ได้อยู่กันอย่างโดดเดี่ยว ความกินดีอยู่ดีของประชาชนในแต่ละประเทศ ความสำเร็จในธุรกิจการค้าองอาศัยความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายต่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ 3.สาขาบริหารรัฐกิจ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ การศึกษาในสาขานี้จะศึกษาเรื่องการบริหารและการจัดการในหน่วยงานและองค์การต่าง ๆ ภายใต้ภาวะแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงการศึกษาในสาขานี้จะเกี่ยวกับระบบราชการ และหน่วยงานของรัฐ ประเภทต่าง ๆ การบริหารบุคคล การคลัง

หัวข้อวิจัย รัฐศาสตร์การเมืองการปกครอง Read More »

วิจัยรัฐศาสตร์

วิจัยรัฐศาสตร์ กระบวนการทำวิจัย เทคนิค หัวข้อ การวิจัยรัฐศาสตร์ วิจัยรัฐศาสตร์ เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการ การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ โดยทั่วไปจะมุ่งเน้นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และอาศัยกระบวนการทำวิจัยในแนวทางเดียวกันกับวิจัยสังคมศาสตร์อื่นๆ คือ เป็นการแสวงหาความรู้ในสาขาต่างๆ ของรัฐศาสตร์ในเชิงประจักษ์ เพื่­อบรรยายลักษณะ ทำนายความสัมพันธ์ หรืออธิบายความสัมพันธ์เชิงตรรกะของปรากฏการณ์ทางรัฐศาสตร์ โดยการใช้ทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดทางรัฐศาสตร์และ/หรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการสร้างกรอบและดำเนินการศึกษา มีกระบวนการดำเนินงานและอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเน้นการใช้ตัวเลข เป็นหลักฐานและการวิเคราะห์เชิงสถิติ และอาศัยกฏของความน่าจะเป็นในการอธิบาย ผลการวิจัยให้มีความแม่นยำและเชื่อถือได้ กล่าวได้ว่า การวิจัยด้านรัฐศาสตร์ เป็นการแสวงหาความรู้ความจริงในขอบเขตของวิชารัฐศาสตร์ กล่าวคือในประเด็นที่เกี่ยวกับกิจกรรมหรือปรากฏการณ์ หรือวิธีการแก้ปัญหาด้านการเมือง รัฐบาล การบริหารงานของรัฐ และกิจกรรมของรัฐด้วยวิธีการที่น่าเชื่อถือ ซึ่งมีลักษณะเป็นระบบระเบียบและเป็นเหตุเป็นผล เพื่อให้ความรู้ความจริงที่เชื่อถือได้ เพื่อนำเอาความรู้ความจริงมาใช้อธิบาย ทำนาย หรือให้คำแนะนำเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องด้านรัฐศาสตร์ การทำวิจัยรัฐศาสตร์  ประกอบไปด้วย 3 สาขาวิชาหลัก ดังนี้ 1. สาขาวิชาการปกครอง

วิจัยรัฐศาสตร์ Read More »

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ เริ่มจากการทำความเข้าใจความหมายของวิจัยรัฐศาสตร์ ดังนี้ การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่ แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน 10 ไอเดีย หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิจัยรัฐศาสตร์เหล่านี้ ผู้จัดทำ ได้ทำการรวบรวมจากแหล่งข้อมูล ฐานข้อมูลงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ ในสาขารัฐศาสตร์ สำหรับผู้สนใจใช้เป็นแนวทาง การทำวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ วิจัยรัฐศาสตร์  1.ความต้องการและความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ 2.กระบวนการตัดสินใจของนักการเมืองท้องถิ่นในการจัดสรรงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี 3.การมีส่วนร่วมของสมาชิกประชาคมหมู่บ้านในการแก้ไขปัญหายาเสพติด : กรณีศึกษา อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี 4.ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี 5.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการปฏิบัติงานสืบสวนสอบสวนของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ Read More »

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ การวิจัยทางรัฐศาสตร์เป็นกระบวนการแสวงความรู้ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทางด้านรัฐศาสตร์อย่างเป็นวิชาการ ที่มีระเบียบแบบแผน มีหลักเหตุผลที่เป็นที่ยอมรับในแต่ละสาขาวิชาย่อยของรัฐศาสตร์ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาที่แน่นอน เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือคำตอบที่ถูกต้อง  เกิดองค์ความรู้ใหม่และความก้าวหน้าทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์ เริ่มจาก หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ ที่เหมาะสม ไอเดียสุดปัง การเลือก การตั้งชื่อ หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ 1 กระบวนการจัดการของภาครัฐต่อหมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาวในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน = The Managerial process of government towards Long -Neck Karen Villages in Mae Hong Son Province / วรศักดิ์ พานทอง / 2554 /Full Text 2 การกำหนดทางเลือกกลยุทธ์ในการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุเทศบาลเขลางค์นคร = Strategic choices in elderly person social welfare of Kelangnakorn Municipality /

หัวข้อวิจัยรัฐศาสตร์ Read More »