วิจัย บริหารการศึกษา

วิทยานิพนธ์การศึกษา

วิทยานิพนธ์บริหารการศึกษา  วิทยานิพนธ์การศึกษา แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย ไอเดีย วิทยานิพนธ์การศึกษา วิทยานิพนธ์การศึกษา หรือ การวิจัยทางการศึกษา คือ ระเบียบวิธีการจัดการสืบค้นข้อมูลอย่างมีระบบ เพื่อค้นหาคำตอบของปัญหาวิจัย เกี่ยวกับตัวแปรทางการศึกษา และผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการจัดการการศึกษา การวิจัยทางการศึกษา (อังกฤษ: Educational research) เป็นการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบในสาขาการศึกษา การวิจัยอาจมีการใช้วิธีการและแง่มุมที่หลากหลายด้านการศึกษา เช่น การเรียนรู้ของผู้เรียน วิธีการสอน การฝึกหัดครูและพลวัตห้องเรียน ผู้วิจัยทางการศึกษาโดยทั่วไปแล้วเห็นด้วยว่าการวิจัยจะต้องเคร่งครัดและเป็นระบบ อย่างไรก็ตามมีการเห็นร่วมน้อยในประเด็นมาตรฐาน เกณฑ์และกระบวนการวิจัยที่แน่นอน ผู้วิจัยทางการศึกษาอาจใช้ศาสตร์หลายสาขาเข้ามาเกี่ยวข้องกับการวิจัย เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยาและปรัชญา และเลือกใช้วิธีการวิจัยตามศาสตร์นั้น ๆ ได้ กระบวนการวิจัยด้านการศึกษา 1. การเลือกปัญหาการวิจัยที่มีผลกระทบ/สนใจ 2. การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษา 3. การเลือกรูปแบบวิธีวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูล 5. การเขียนรายงานผลการวิจัย 10 ตัวอย่าง หัวข้อวิจัยการศึกษา หัวข้อวิทยานิพนธ์การศึกษา ดุษฎีนิพนธ์การศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารกับมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครปฐม (Administrative behaviors and standards in child development center of local administration organization in Nakhonpathom) […]

วิทยานิพนธ์การศึกษา Read More »

วิจัยบริหารการศึกษา

การทำวิทยานิพนธ์บริหารการศึกษา วิจัยบริหารการศึกษา แนวคิดพื้นฐาน เทคนิค ไอเดียหัวข้อ วิจัยบริหารการศึกษา วิจัยบริหารการศึกษา เป็นกระบวนการทำวิจัย เพื่อหาพัฒนากิจกรรมด้านการจัดการศึกษา เป็นเป็นกระบวนการหรือการจัดดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของการศึกษา ได้แก่ สถานศึกษา โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หลักสูตร ครูอาจารย์ นักเรียน นิสิต  นักศึกษา  รวมไปถึง อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้  วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ  หนังสือ  ตําราเรียน  ตลอดจนอาคารสถานที่  และแม้แต่เรื่องของเทคโนโลยีต่าง ๆ  ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา  ก็ถือได้ว่าเป็นการบริหารการศึกษา ด้วยเช่นกัน หน้าที่ของการบริหารการศึกษา  คือการบริหารจัดการปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสำเร็จที่ตั้งเป้าหมายไว้     เป็นความพยายามที่จะบริหารจัดการ และดําเนินงานทุกอย่างที่เกี่ยวข้องข้องกับการศึกษา  ด้วยเป้าประสงค์คือให้มีผลผลิต คือ นักเรียน นิสิต นักศึกษา ให้มีคุณภาพสูงสุด ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ของผู้บริหารและผู้ร่วมงานที่มีความรู้ ความสามารถ  เพื่อที่จะจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์  ตามแนวทาง  หลักเกณฑ์ หลักการ และ ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจําเป็นที่ผู้บริหารและผู้ร่วมงานจะต้องเรียนรู้ เข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้หลักการและแนวทางการบริหารการศึกษาได้อย่างเหมาะสมกิจกรรมและสถานการณ์ต่าง

วิจัยบริหารการศึกษา Read More »