รับตีพิมพ์บทความ

รับตีพิมพ์ความ บริการตีพิมพ์บทความวิจัย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

ศูนย์ให้บริการงานวิจัยและงานวิเคราะห์ข้อมูล รับตีพิมพ์บทความ รับตีพิมพ์บทความวิจัย รับทำรายงานวิจัย  ตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น ISI และ SCOPUS เป็นต้น

การเขียนบทความและการตีพิมพ์บทความ  เป็นกระบวนการทำงานวิจัยที่ต่อเนื่องจากภายหลังนักวิจัยได้ทำวิจัยสำเร็จเป็นรูปเล่ม อาจจะ 5 บท 7 บท หรือ 10 บท ตามกำหนดกฎเกณฑ์ของคณะและมหาวิทยาลัย  ทำให้การมีผู้ช่วยสำหรับ รับเขียนบทความวิจัย รับตีพิมพ์บทความ เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่ช่วยลดเวลา และ  ความยุ่งยากของผู้ที่ต้องการทำผลงานวิชาการ มีความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

ขั้นตอนการส่งบทความตีพิมพ์  หากเป็นการตีพิมพ์บทความในประเทศไทย TCI1  TCI2  TCI3  ถือได้ว่าเป็นขั้นตอนการทำงาน ที่ไม่ยุ่งยากมากนัก โดยเฉพาะในเรื่องของทักษะทางภาษา เนื่องจากการติดต่อสื่อสารกับสำนักพิมพ์ หรือ วารสารต่างๆ จะเป็นการติดต่อโดยใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และมาตรฐานของวารสารวิชาการในประเทศไทยยังมีความคล่องตัว และ ยืดหยุ่น มากกว่าการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

คำแนะนำในการเตรียมบทความเพื่อลง ตีพิมพ์บทความ ในวารสารวิชาการ

  1. วัตถุประสงค์การจัดพิมพ์

วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ทางวิชาการในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ของอาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา และบุคคลที่สนใจ และเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทางการวิจัยสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์โดยมุ่งเน้นบทความเกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาประเทศ การทหารและความมั่นคง

  1. ขอบเขตการตีพิมพ์          2.1 ขอบเขตเนื้อหา ได้แก่ บทความเกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาประเทศ การทหารและความมั่นคงในสาขาสังคมวิทยา รัฐศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ อักษรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์ทั่วไป

    2.2 ประเภทของบทความที่เปิดรับ ได้แก่ บทความวิจัย บทความวิชาการ และบทความปริทัศน์

    2.3 ภาษาของบทความ ได้แก่ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

  2. กำหนดออก    กำหนดตีพิมพ์ปีละ 1 ฉบับ (มกราคม-ธันวาคม)
  1. ข้อกำหนดทั่วไปของบทความ

4.1 บทความที่นำเสนอจะต้องมีสาระที่น่าสนใจ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เป็นองค์ความรู้ใหม่ หรือนำเสนอองค์ความรู้เดิมในมุมมองใหม่ ไม่เคยถูกนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารอื่นใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารอื่นใด ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น หากนำผลงานมาใช้ให้อ้างอิงทุกครั้ง

4.2 บทความต้องใช้รูปแบบตามแบบฟอร์ม (Template) ที่วารสารกำหนด รวมถึงปฏิบัติตามคำแนะนำการตีพิมพ์นี้อย่างเคร่งครัด

4.3 บทความที่นำเสนอในแต่ละประเภทมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

                  บทความวิจัย (Research article) เป็นบทความที่นำเสนอผลการดำเนินการวิจัยอย่างเป็นระบบ และได้บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประกอบด้วย ชื่อเรื่องและรายละเอียดผู้เขียน และเนื้อหางานวิจัย ซึ่งประกอบไปด้วย บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) ขอบเขตการวิจัย ทบทวนวรรณกรรม กรอบแนวคิดการวิจัย (ถ้ามี) วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือในการวิจัย ผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ กิตติกรรมประกาศ (ถ้ามี) และเอกสารอ้างอิง ทั้งนี้ผู้เขียนบทความจะต้องกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อย่างละ 3-5 คำ ไว้ท้ายบทคัดย่อแต่ละภาษา

                  บทความทางวิชาการ (Academic article) เป็นงานเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกําหนดประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์อย่างชัดเจน ทั้งนี้ มีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลักวิชาการโดยมีการสํารวจวรรณกรรมเพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ อาจเป็นการนำความรู้จากแหล่งต่าง ๆ มาประมวลร้อยเรียงเพื่อวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยผู้เขียนแสดงทัศนะทางวิชาการของตนไว้อย่างชัดเจนด้วย  บทความทางวิชาการ ประกอบไปด้วย ชื่อเรื่องและรายละเอียดผู้เขียน บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทนำ วัตถุประสงค์ เนื้อหา บทสรุป และเอกสารอ้างอิง ทั้งนี้ผู้เขียนบทความจะต้องกำหนดคำสำคัญ (Keyword) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อย่างละ 3-5 คำ ไว้ท้ายบทคัดย่อแต่ละภาษา

                  บทความปริทัศน์ (Review article) เป็นบทความที่เขียนจากการรวบรวมความรู้ในเรื่องที่น่าสนใจในปัจจุบัน เรื่องใดเรื่องหนึ่งผ่านกระบวนการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เปรียบเทียบ และ/หรือ วิจารณ์ เพื่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ในมุมมองใหม่ ประกอบด้วย ชื่อเรื่องและรายละเอียดผู้เขียน บทนำ เนื้อหา บทวิจารณ์ บทสรุป และเอกสารอ้างอิง

  1. การส่งบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์

สามารถส่งบทความเป็นไฟล์ word (นามสกุล .doc หรือ .docx) พร้อมกับแนบไฟล์ pdf เพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารฯ ได้ที่ ส่งบทความ หรือ submission

  1. การส่งบทความ (แบบฟอร์มสำหรับบทความวิจัย) (แบบฟอร์มสำหรับบทความวิชาการ)

6.1 ต้นฉบับจำนวนหน้าของบทความมีความยาว 12-15 หน้ากระดาษ A4 (รวมรายการอ้างอิง) หากเป็นบทความภาษาอังกฤษไม่เกิน 7,000 คำ จัดพิมพ์ด้วยโปรแกรม Microsoft Word 2003 ขึ้นไป โดยแผนภาพ แผนภูมิ ตารางที่ใช้ในบทความ ให้ทำเป็นไฟล์ภาพ (นามสกุล .jpg หรือ .png) โดยท่านสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่นี่ (แบบฟอร์มสำหรับบทความวิจัย click) (แบบฟอร์มสำหรับบทความวิชาการ click)

6.2 ขนาดกระดาษ ใช้ขนาด A4 พิมพ์แนวตั้ง (Portrait) จัดชิดขอบซ้าย-ขวา แบบกระจายแบบไทย ใส่หมายเลขหน้าทุกหน้าที่มุมด้านบนขวาของกระดาษ โดยตั้งค่าหน้ากระดาษ (Margins) ดังนี้

ด้านบน (Top) และด้านซ้าย (Left)                   1 นิ้ว (2.54 ซม.)

ด้านล่าง (Bottom) และด้านขวา (Right)         1 นิ้ว (2.54 ซม.)

หัวกระดาษและท้ายกระดาษ                             0.5 นิ้ว (1.25 ซม.)

ระยะห่างระหว่างบรรทัด                                    1.0

จัดหน้าเป็นแบบ                                                1 คอลัมน์ ย่อหน้า 0.5 นิ้ว

6.3 รูปแบบตัวอักษรที่กำหนด คือ TH SarabunPSK ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ยกเว้น ตัวอักษรที่เป็นสัญลักษณ์ให้ใช้รูปแบบอักษรเป็น Symbol ขนาด point (pt) ให้มีความสูงเท่ากับตัวอักษรอื่นในบรรทัดนั้น ส่วนตัวเลขให้ใช้เลขอารบิก

 

 

 

รับตีพิมพ์บทความ การตีพิมพ์บทความ scopus ISI

รับตีพิมพ์บทความ   รับตีพิมพ์บทความ บทความ Scopus ISI วารสารวิชาการในต่างประเทศ ให้คำปรึกษาการตีพิมพ์บทความ วารสารวิชาการ วารสารการวิจัยทุกชนิด รับเขียนบทความ รับตีพิมพ์บทความ วารสารวิชาการในต่างประเทศ เช่น ISI  Scopus ในสาขาต่างๆ เช่น บริหารธุรกิจ การเงิน การบัญชี การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์  รัฐศาสตร์ บริหารการศึกษา โลจิสติกส์ สาธารณสุขศาสตร์ เป็นต้น ปัจจุบัน การเขียนบทความ และ การตีพิมพ์บทความ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้นสำหรับแวดวงวิชาการ ทั้งในแง่ของการดำรงคุณสมบัติที่ครบถ้วนตามหลักสูตรที่คณะและมหาวิทยาลัยกำหนดให้ต้องมีการตีพิมพ์บทความวิชาการในต่างประเทศ ทั้ง Scopus หรือ ISI รวมไปถึง นักวิจัย นักวิชาการ ที่จำเป็นต้องมีการตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากลต่างๆเหล่านี้  ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงต้องทำความรู้ความเข้าใจ กับรายละเอียด วิธีการ และขั้นตอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตีพิมพ์บทความวารสาร scopus และ isi ที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถได้รับใบตอบรับการตีพิมพ์ และได้รับการตีพิมพ์ต่อไป ขั้นตอนการตีพิมพ์บทความ การตีพิมพ์บทความ …

รับตีพิมพ์บทความ การตีพิมพ์บทความ scopus ISI Read More »

รับเขียนบทความวิจัย รับตีพิมพ์บทความวิจัย

ให้บริการ รับเขียนบทความวิจัย รับเขียนบทความ   ตีพิมพ์บทความวิจัย  รับเขียนบทความวิจัย รับเขียนบทความ รับเขียนบทความออนไลน์   ให้คำปรึกษาและแก้ไข การเขียนบทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์วารสารวิชาการ สำหรับการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ บทความวิจัย บทความวิชาการ วารสารวิชาการต่างประเทศ Scopus และ ISI และวารสารวิชาการในประเทศ TCI1 TCI2 และ TCI3 ให้บริการผู้ช่วยและที่ปรึกษาการเขียนงานเขียนวิชาการ รับเขียนบทความวิชาการ รับเขียนบทความวิจัย รับเขียนบทความ  บทความออนไลน์   ตีพิมพ์บทความวิจัย วารสารวิชาการชั้นนำในต่างประเทศ เช่น ISI และ SCOPUS ตั้งแต่กระบวนการเสนอหัวข้อบทความวิจัย ไปจนถึงการนำเสนอหรือส่งตีพิมพ์บทความวิจัย ผ่านระบบที่รองรับการนำเสนอหรือนำส่งบทความวิชาการ ในวารสารวิชาการที่มีความเฉพาะเจาะจงสำหรับบทความวิจัยในแต่ละประเภท บริการ รับเขียนบทความวิจัย รับเขียนบทความ ในสาขาต่อไปนี้ Professionaldatas  คือ ผู้ให้บริการด้านงานวิจัย   รับเขียบทความวิจัยภาษาอังกฤษ บทความวิจัยภาษาต่างประเทศ  พร้อมให้คำแนะนำ ที่ปรึกษา การตีพิมพ์บทความวิจัย วารสารวิชาการต่างประเทศ  เรามีประสบการณ์ในการเขียนบทความวิจัย และ ส่งบทความ ตีพิมพ์บทความวิจัย ในต่างประเทศ …

รับเขียนบทความวิจัย รับตีพิมพ์บทความวิจัย Read More »