การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (Operating Performance Analysis)

การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (Operating Performance Analysis) การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน นอกจากจะเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเบื้องต้น สำหรับผู้บริหาร เจ้าของกิจการ หรือ เจ้าของธุรกิจแล้ว  ผลการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ยังมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น เจ้าหนี้ นักลงทุน และสถาบันการเงิน รวมไปถึงประชาชนที่สนใจลงทุนในกิจการนั้นๆด้วย  การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ถือเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมาก เพราะเป็นการวิเคราะห์ความสามารถในด้านต่างๆของกิจการ ประเภทของ การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (Operating Performance) การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานสามารถแบบออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆคือ อัตราส่วนประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Operating Efficiency Ratio) อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไรจากการดำเนินงาน (Operating Profitability Ratio)   อัตราส่วนประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Operating Efficiency Ratio) เป็นการวิเคราะห์ความสามารถในการบริหารสินทรัพย์และเงินทุนของกิจการ โดยวิเคราะห์จากรายได้ที่กิจการสามารถสร้างได้จากการนำสินทรัพย์และเงินทุนนั้นไปใช้ประโยชน์  โดยมีอัตราส่วนสำคัญดังนี้ อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Asset Turnover) อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Net Fixed Asset Turnover) อัตราหมุนเวียนของส่วนของทุน (Equity Turnover) […]

การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (Operating Performance Analysis) Read More »

เทคนิคการทำวิจัยและการทำวิทยานิพนธ์ เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานองค์กร ด้วย Root Cause analysis

การทำวิจัย การทำวิทยานิพนธ์ การทำค้นคว้าอิสระ หรือการทำปัญหาพิเศษ ที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานเชิงลึกขององค์กร ด้วยวิธี Root Cause Analysis เทคนิคการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานขององค์กร หรือ ประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กร ที่มุ่งเน้นการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคืที่เรียกว่า “Root Cause analysis” หรือเรียกย่อๆว่า RCA   การทำวิจัยเกี่ยวกับผลการดำเนินงานบริษัท การทำวิจัยเกี่ยวกับผลการดำเนินงานบริษัท ด้วยเทคนิค Root Cause Analysis นี้ บางครั้งในวงการวิจัยมักจะเรียกว่า ” แผนภูมิก้างปลา”   เนื่องจากมีลักษณะคล้ายกับก้างปลา  เทคนิคนี้ถือได้ว่าเป็นแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานขององค์กรและการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ประสิทธิภาพองค์กร ได้เป็นอย่างดี สามารถใช้วิเคราะห์ได้ทั้งองค์กรขนาดเล็กและขนาดใหญ่ องค์กรภาครัฐและองค์กรธุรกิจ รวมทั้ง สามารถใช้ร่วมกับเทคนิคอื่นๆ เช่น WHY WHY analysis หรือ 5 WHY เพื่อให้ผลการวิเคราะห์ที่มีความละเอียด ลึกซึ้ง และครบถ้วนมากยิ่งขึ้นได้ด้วย การทำวิจัยเกี่ยวกับผลการดำเนินงานบริษัท  ด้วย Root –Cause Analysis ที่สำคัญคือ ช่วยให้สามารถมองเห็นปัญหา ได้ทั้งแนวดิ่ง และ

เทคนิคการทำวิจัยและการทำวิทยานิพนธ์ เพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานองค์กร ด้วย Root Cause analysis Read More »