การทำวิจัย รปศ.

วิจัยบริหารรัฐกิจ

วิจัยบริหารรัฐกิจ แนวคิดพื้นฐาน นิยาม ความหมาย ไอเดีย สำหรับการทำ วิจัยบริหารรัฐกิจ สำหรับนิสิต นักศึกษาที่ศึกษาในสาขารัฐศาสตร์ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ จะเข้าใจนิยามความหมาย ความเหมือน ความแตกต่างบางประการ ของการบริหารรัฐกิจ และ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นอย่างดี  แต่สำหรับบุคคลทั่วไป อาจจะไม่ค่อยยังสับสนว่า บริหารรัฐกิจ เป็นเรื่องเดียวกับรัฐประศาสนศาสตร์หรือไม่ มีความเหมือน และความแตกต่างบางประการอย่างไร การทำ วิจัยบริหารรัฐกิจ และ วิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ หรือ วิจัยรปศ. แตกต่างกันอย่างไร การบริหารรัฐกิจ รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ การบริหารราชการแผ่นดิน (อังกฤษ: Public Administration) คือ การดำเนินการทั้งปวงของฝ่ายบริหาร ยกเว้นอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ โดยมีจุดมุ่งหมายให้นโยบายของรัฐที่วางไว้บรรลุผล อาจมองได้ทั้งเป็นการปฏิบัติการและการเป็นสาขาวิชาหนึ่งในการบริหารและการจัดการภาครัฐ ที่จะไม่เหมือนการบริหารธุรกิจที่เน้นกำไรสูงสุด (profit maximize) แต่เป็นการเน้นการให้บริการที่ให้ลูกค้าพึงพอใจ โดยลูกค้าก็คือ ประชาชนที่มาใช้บริการ และต้องเป็นการให้บริการต่อทุกคนอย่างเป็นธรรม รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การเรียนการสอนวิชาในด้านการบริหารรัฐกิจ การบริหารและการจัดการภาครัฐ ในประเทศไทยมีหลายสถาบันอุดมศึกษาเปิดสอน ทั้งนี้การสังกัดหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่ในหลากหลายลักษณะ อาทิ สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะโดยตรง […]

วิจัยบริหารรัฐกิจ Read More »

การทำวิจัยรปศ.

การทำวิจัยรปศ.  วิจัยรัฐประศาสนศาสตร์ วิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ หรือ นิยมเรียกสั้นๆ การทำวิจัยรปศ. มีลักษณะคล้ายคลึงกับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะระเบียบวิธีวิจัย ตั้งแต่ขั้นตอนการกำหนดปัญหาใน การวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย การทบทวนวรรรกรรมและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง การตั้งสมมติฐานการวิจัย การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การออกแบบการวิจัย การสร้างมาตรวัด การสร้างเครื่องมือในการเก็บข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล เพียงแต่เนื้อหาสาระ  และขอบเขตที่ศึกษานั้นแตกต่างกันตามลักษณะของศาสตร์ที่ศึกษา การศึกษาในสาขารัฐศาสตร์นั้น จะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องทางการเมือง การปกครอง การเข้าสู่อำนาจ การลงจากอำนาจ  ขณะที่ การศึกษาในสาขา รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องการบริหาร การบริหารภาครัฐทั้งหมด  สำหรับประเทศไทยจะเรียนเรื่องการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น สาขาเอกย่อยๆ 1.นโยบายสาธารณะ 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3.องค์การและการจัดการ 4.กระบวนการยุติธรรม นอกจากนี้  ในหลักสูตรด้านรัฐประศาสนศาสตร์ ยังเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับ Thailand 4.0 ประชาคมอาเซียน ทักษะทางด้านภาษาและเทคโนโลยีทางด้านไอที เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงานของบัณฑิตในอนาคต ตัวอย่างหัวข้อวิจัยสาขารัฐประศาสนศาสตร์  การทำวิจัยรปศ    1 การควบคุมกระบวนการจัดเก็บภาษีสุรากลั่นชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ = Control of

การทำวิจัยรปศ. Read More »