รับทำวิจัยโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ ศูนย์ให้บริการ รับทำวิจัยด้านโลจิสติกส์ ปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ ดุษฎีนิพนธ์ด้านโลจิสติกส์ การสร้างหัวข้อวิจัยด้านโลจิสติกส์ : LOGISTICS RESEARCH PROFESSIONALDATAS รับทำวิจัยโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ ทั้งงานวิจัยโลจิสติกส์เชิงปริมาณ สามารถให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ เป็นผู้ช่วยทำ แบบจำลองตั้งแต่ระดับพื้นฐานจนถึงแบบจำลองคณิตศาสตร์ขั้นสูง และเชิงปริมาณด้วยการใช้แบบสอบถาม รวมไปถึงการทำวิจัยเชิงคุณภาพด้านโลจิสติกส์
ปัจจุบัน กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ มีเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับโลกและในประเทศไทยเอง กิจกรรมด้านโลจิสติกส์มีอัตราการเพิ่มสูงขึ้น ธุรกิจ และ อุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์ รวมทั้งเกี่ยวกับการจัดการโซ่อุปทาน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ล้วนแล้วแต่มีความสำคัญ มีความจำเป็น ต่อการพัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรม และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างมาก ทำให้มหาวิทยาลัย และ สถาบันการศึกษาต่างๆ ในระดับอุดมศึกษา มีการเปิดสอน หลักสูตร หรือ โปรแกรม สำหรับรองรับการเจริญเติบโตของโลจิสติกส์เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย เพื่อตอบสนองความต้องการของการทำวิจัยด้านนี้
รับทำวิจัยโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ PROFESSIONALDATAS มีประสบการณ์ และ มีความเชี่ยวชาญ สามารถ รับทำวิจัยโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ ได้อย่างถูกต้อง มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน น่าสนใจ บริการรับเป็นที่ปรึกษาการทำวิจัยด้านโลจิสติกส์ การกำหนดหัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ หัวข้อวิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีประสบการณ์ทำงานวิจัย ด้านโลจิสติกส์อย่างยาวนาน ทราบถึงความต้องการของวิจัยโลจิสติกส์ในปัจจุบัน และแนวโน้ม การทำวิจัยด้านโลจิสติกส์ ที่เป็นสากล ได้รับการยอมรับและตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ
รับทำวิจัยโลจิสติกส์ วิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ รับทำงานวิจัยด้านโลจิสติกส์ ให้ปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์โลจิสติกส์ บริการ ให้คำแนะนำ ปรึกษา สืบค้นเพื่อให้สามารถกำหนด หัวข้อวิจัยโลจิสติกส์ ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันสมัย ปัจจุบัน ธุรกิจ และ อุตสาหกรรม เกี่ยวกับโลจิสติกส์ มีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีการเจริญเติบโตมากที่สุด เหตุผลหลัก นอกมาจากการที่กิจกรรม ด้านโลจิสติกส์ เป็นกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบ “พื้นฐาน” ที่ปรากฎอยู่ในทุกธุรกิจ ทุกองค์กร ทั้งองค์กรขนาดเล็ก องค์กรขนาดใหญ่ องค์กรธุรกิจเอกชน องค์กรราชการ หรือองค์กรรัฐวิสาหกิจ ล้วนแล้วแต่มีกิจกรรมโลจิสติกส์เกี่ยวข้องด้วยทั้งสิ้น มากหรือน้อยแตกต่างกัน
นอกจากนี้ จากการเติบโตของธุรกิจออนไลน์ การขายสินค้าออนไลน์ E – Commerce ที่มีการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับจำนวนผู้ใช้ สื่อสังคมออนไลน์ Social Media ประเภทต่างๆ ของคนไทยที่มีมากขึ้น ติดอันดับต้น ของเอเชีย (บัญชีหลักผู้ใช้ / จำนวนประชากร) ซึ่งเป็นเป็นปัจจัยหลัก ปัจจัยสำคัญ หรือ ตัวแปรที่ส่งเสริม สนับสนุน และ ผลักดันให้ธุรกิจโลจิสติกส์ มีการเติบโตตามไปด้วย เพราะลักษณะสำคัญที่สุดประการหนึ่งของผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ ไม่เฉพาะของคนไทย แต่เป็นในระดับโลก คือ ต้องการได้รับสินค้าเร็วที่สุด
ผู้ประกอบการในธุรกิจ อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด รุนแรง มีการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด การวิจัยและพัฒนา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินกิจกรรมด้านโลจิสติกส์ โดยเฉพาะโลจิสติกส์ ด้านการขนส่งพัสดุ หรือ “Parcel Delivery” “Express Parcel Service” โดยผู้บริโภคคนไทย มักจะได้ยินคำว่า “ขนส่งด่วน” “Delivery Express” ซึ่งมีผู้เล่นรายใหม่เข้ามาในอุตสาหกรรม เพื่อแย่งส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จากเดิม ผู้เล่นรายใหญ่ จะเป็นผู้ประกอบการโลจิสติกส์ข้ามชาติรายใหญ่
ข้อมูลจาก Priceza e-Commerce Summit 2021 ระบุว่า จากสถานการณ์โควิด ทำให้มูลค่าตลาดอีคอมเมิร์ซ ปี 2563 มีมูลค่า 294,000 ปี 2562 อยู่ที่ 163,000 โต 81% กล่าวได้ว่า เป็นยุคทองของธุรกิจขนส่งพัสดุ และถือว่าเป็นธุรกิจ และ อุตสาหกรรมที่มีความท้าทายมากที่สุดอุตสาหกรรมหนึ่ง โดย ระดับของการแข่งขันที่รุนแรง สะท้อนให้เห็นจากปรากฎการณ์ที่ ในธุรกิจขนส่งย่อยปัจจุบันแข่งขันตัดราคาต่ำกว่าต้นทุนเพื่อสร้างโอกาสในการหาลูกค้าแทนการแข่งขันด้านคุณภาพ (marketeeronline) นอกจากนี้ พบว่า อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ เป็นหนึ่งไม่กี่อุตสาหกรรม ที่สามารถเติบโตได้ ในช่วงของการแพร่ระบาดไวรัส โควิด-19 ด้วย พิสูจน์ให้เห็นว่า ธุรกิจและอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ยังมีแนวโน้มการเติบโตได้ดีต่อไป
ปัจจุบัน มีผู้ประกอบการของไทย ที่เป็นบริษัทมหาชน มีสรรพกำลัง มีเงินทุนมหาศาลเข้ามาในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์มากขึ้นเช่นกัน ทำให้อุตสาหกรรมโลจิสติกส์มีการแข่งขันสูง และส่งผลดีต่อผู้บริโภค เนื่องจากผู้ประกอบการแต่ละราย มีการมุ่งมุ่นพัฒนากลยุทธ์ และคุณภาพการบริการให้สามารถตอบสนองความต้องการ และ พฤติกรรมของผู้บริโภคที่ใช้บริการให้มากที่สุด
แบบจำลอง หรือ โมเดลแห่งความสำเร็จ ของธุรกิจโลจิสติกส์ ที่แข่งขันกันอยู่ในขณะนี้ คือ การพัฒนาให้ธุรกิจโลจิสติกส์ ของตน สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ การขนส่งด่วน แบบ “Same-day Delivery” หรือ ขนส่งด่วนภายใน 1 วัน ซึ่งเป็นโมเดลธุรกิจ ที่ประสบความสำเร็จ ด้านโลจิสติกส์ในระดับโลก โดยเฉพาะ ในประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจในระดับสูง เช่น อเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เป็นต้น
หัวข้อวิจัย และ วิทยานิพนธ์ ที่น่าสนใจ ในปัจจุบัน สำหรับ วิศวกรรม โลจิสติกส์ (Topic in the Thesis and Research for Logistics Engineering) หัวข้อวิจัยด้านโลจิสติกส์ และ วิทยานิพนธ์ด้านโลจิสติกส์ ที่น่าสนใจในปัจจุบัน สำหรับ การเรียนในหลักสูตรด้านโลจิสติกส์ การจัดการโลจิสติกส์ และ วิศวกรรมโลจิสติกส์ (Topic in the Thesis and Research for Logistics Engineering)
Order management/Customer service
การจัดการการรับหรือส่งสินค้า และ การบริการลูกค้า Packaging
การคัดเลือกบรรจุภัณฑ์เพื่อมาใช้บรรจุสินค้า Material handling
การขนถ่ายวัสดุภายในโรงงาน หรือ ในคลังสินค้า Transportation/Mode of transportations (Domestic & International)
การขนส่งสินค้าระหว่างสถานที่ต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ Warehouse management
(Layout, locations, control technology/equipment, facility)
การจัดการคลังสินค้า ไม่ว่าจะเป็นการวางผังสินค้า หรือ สถานที่ ที่จะตั้งคลังสินค้า Inventory control systems (Qty)/ material management
ระบบในการบริหารสินค้าคงคลัง เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนหรือกระจายสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ Supplier management/material management
การบริหารจัดการผู้ผลิตวัตถุดิบให้เรา (Supplier) เพื่อให้ได้ วัตถุดิบที่มีคุณภาพ
และ เพียงพอต่อความต้องการในเวลาที่เหมาะสม Distribution center/distribution hub
การกำหนดแหล่งที่ตั้งในการกระจายสินค้า เพื่อให้เกิดการกระจายสินค้าได้อย่างทั่วถึง Manufacturing/production control
ระบบควบคุมการผลิต Information Technology for Logistics
(Telecommunication Network, RFID, Bar Code, QR Code, EDI, Database )
เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับ โลจิสติกส์ Plant and Warehouse Layout Design
การวางผังออกแบบโรงงานและคลังสินค้า ทั้งนี้ การทำวิจัยด้านโลจิสิสติกส์ ในปัจจุบัน มีแนวโน้มที่ต้องใช้สถิติ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ หรือเศรษฐมิติ เพื่อทำให้งานวิจัยมีความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเทคนิคการวิเคราะห์ ด้วยการพยากรณ์ ด้วยแบบจำลองพยากรณ์ต่างๆ รวมถึง มีการทดสอบ หรือ ประเมิน แบบจำลองที่ใช้ในการพยากรณ์ และเลือกว่าแบบจำลองใด มีประสิทธิภาพมากกว่ากัน เช่น การเลือกแบบจำลองที่มีค่า RMSE MAPE ต่ำที่สุด เป็นต้น
ดังนั้น ผู้ที่สนใจจะศึกษาต่อ ในหลักสูตรด้านโลจิสติกส์ จะต้องเตรียมตัว เตรียมใจ และสำรวจ ศักยภาพของตนเองเบื้องต้น ว่าสามารถที่จะเรียนต่อจนสำเร็จถึงขั้นตอนของการทำวิจัยจบ ได้หรือไม่
ขอบคุณข้อมูลดีๆ Thank you for…
ระเบียบวิธีวิจัยด้านโลจิสติกส์ หัวข้อวิจัยที่น่าสนใจ สำหรับ วิศวกรรมโลจิสติกส์ ระเบียบ วิธีวิจัย ด้านโลจิสติกส์ พื้นฐาน ระเบียบ วิธีวิจัยพื้นฐาน ด้านโลจิสติกส์ หัวข้อวิจัย โลจิสติกส์ ที่น่าสนใจ ตลาดขนส่งพัสดุไทยเติบโต แต่ละแบรนด์ต้องปรับกลยุทธ์สปีดหนีคู่แข่งทั้ง “ราคา – ความเร็ว”