รับเขียนโครงร่างวิจัย
บริการ รับเขียนโครงร่างวิจัย โดยทีมวิจัยปริญญาเอกและโทหลายสาขา
รับเขียนโครงร่างวิจัย โครงร่างวิทยานิพนธ์ สาขาบริหารธุรกิจ การเงิน การบัญชี การจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการโลจิสติกส์ โครงร่างวิจัยสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รปศ. บริหารการศึกษา โครงร่างวิจัยสาขานิเทศศาสตร์และสื่อสารมวลชน โครงร่างวิจัยสาขากฎหมาย (นิติศาสตร์) รับเขียนโครงร่างวิจัยทุกสาขา
รับเขียนโครงร่างวิจัย ทุกสาขา
การวิจัย คือ กระบวนการค้นหาความรู้ ข้อเท็จจริง อย่างมีระบบ มีกฎเกณฑ์ในการรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์และแปลความข้อมูล เพื่อแสวงหาคําตอบ สําหรับคําถามหรือประเด็นการศึกษาที่ตั้งไว้ด้วยกระบวนการ อันเป็นที่ยอมรับ ในแต่ละสาขาวิชา ซึ่งในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ นิยมใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพราะเชื่อว่าวิธีนี้มีความถูกต้อง เชื่อถือได้มากที่สุด โดยทั่วไปก่อนที่นักวิจัยจะทําการวิจัย จะต้องมีการวางแผนเกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการวิจัยไว้ล่วงหน้า การเขียนโครงร่างการวิจัย (Research proposal)
นอกจากจะทําให้ผู้วิจัยทราบขั้นตอนและ รายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของการวิจัยแล้ว ยังใช้เป็นเครื่องมือในการพิจารณาขออนุมัติทําวิจัย หรือขอทุน
สําหรับวิจัยอีกด้วย เพื่อให้ผู้พิจารณาอนุมัติเชื่อว่า การวิจัยที่จะทํานั้นมีระเบียบวิธีการวิจัยที่ดี มีความเป็นไปได้ ในการวิจัยให้สําเร็จ และประโยชน์ สมควรได้รับการอนุมัติให้ทําการวิจัยได้
สิ่งสําคัญที่สุดในการเขียนโครงร่างการวิจัยที่ดี ก็คือความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ของผู้ที่ จะทําการวิจัยเรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์อะไร จะใช้ระเบียบวิธีการศึกษาอะไรและอย่างไร และงานวิจัยนั้นมีประโยชน์อะไรบ้าง ซึ่งหากผู้ที่ทําวิจัยไม่มีความชัดเจนในเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้แล้ว ก็ยากที่จะเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดีได
องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย
โครงร่างวิจัยที่สมบูรณ์ ควรมีองคประกอบหลัก หรือองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้
1. ชื่อเรื่อง
2. ความสําคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
4. คําถามของการวิจัย
5. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6. การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ้
7. สมมติภาพและกรอบแนวคิด
8. ขอบเขตของการวิจัย
9. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
10. นิยามศัพท์
11. ระเบียบวิธีดําเนินการวิจัย
12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
13. ระยะเวลาทําการวิจัย
14. รายละเอียดงบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการวิจัย
15. บรรณนุกรม
16. ภาคผนวก
17. ประวัติของการดําเนินการวิจัย
แม้ว่าโครงร่างวิจัยจะเป็นเพียงการนำเสนอแนวทางการทำวิจัยต่อผู้อนุมัติ เช่น อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย หรือคณะกรรมการตรวจสอบงานวิจัย แต่หัวข้อที่สำคัญที่ควรลงรายละเอียดที่ถูกต้องและชัดเจน คือ ในส่วนของ ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยควรระบุตัวแปรทั้งหมดที่ต้องการศึกษา พร้อมกับการจัดหมวดหมู่ชนิดของตัวแปรว่า เป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม
นอกจากนี้ผู้วิจัยควรนําเอาสมมติฐานต่างๆที่เขียนไว้มารวมกันให้เป็นระบบ และมีความเชื่อมโยงกัน ในลักษณะที่เป็นกรอบแนวความคิด ของการศึกษาวิจัยทั้งเรื่อง เช่น จะศึกษาถึงพฤติกรรมสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยของคนงาน อาจต้องแสดง (นิยมทําเป็นแผนภูมิ) ถึงที่มาและปัจจัยที่เป็นตัวกําหนดในพฤติกรรมดังกล่าว หรือในทางกลับกันผู้วิจัยอาจกําหนดกรอบแนวความคิดของการวิจัย ซึ่งระบุว่าการวิจัยนี้เป็นตัวแปรอะไรบ้างและตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไรก่อน แล้วจึงเขียนสมมติฐานที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในลักษณะที่เป็นข้อๆ ในภายหลัง
นอกจากนี้ ในส่วนของ ระเบียบวิธีวิจัย (research methodology) เป็นการให้รายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนในการดําเนินงานการวิจัยว่าแต่ละขั้นตอนต้องการทำอย่างไรโดยทั่วไป เป็นการให้รายละเอียดในเรื่องต่อไปนี้คือ
1. วิธีวิจัย จะเลือกใช้วิธีแบบใด เช่น การใช้การวิจัยเอกสาร การวิจับแบบทดลอง การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงคุณภาพ หรือจะใช้หลายวิธีรวมกัน ซึ่งจะต้องระบุให้ชัดเจนว่าจะใช้วิธีอะไรบ้าง
2. แหล่งข้อมูล จะเก็บข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง เช่น จะเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากทะเบียนราษฎร์ สมุดสถิติรายปี สํามะโนประชากรและเคหะ ฯลฯ หรือจะเป็นข้อมูลปฐมภูมิจากการสํารวจ การสนทนากลุ่ม การสังเกต การสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นต้น
3. ประชากรที่ศึกษา ระบให้ชัดเจน ว่าใครคือประชากรที่จะต้องศึกษา และกําหนดคุณลักษณะของประชากร ที่จะต้องศึกษาให้ชัดเจน เช่น เพศ อายุสถานภาพสมรส ศาสนา เขตที่อยู่อาศัย บ้างครั้งประชากรที่ต้องศึกษาอาจไม่ใช่ปัจเจกบุคคลก็ได้เช่น อาจเป็นครัวเรือน หมู่บ้าน อําเภอ จังหวัด ฯลฯ เป็นต้น
4. วิธีการสุ่มตัวอย่าง (Sampling) ผู้วิจัยต้องระบุกลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง โดยละเอียดและแสดงเป็น ขั้นตอนของการสุ่มกลมตัวอย่างประกอบ ควรอธิบายว่าจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบใด ขนาดกลุ่มตัวอย่างมีจํานวน เท่าใด เก็บข้อมูลจากที่ไหน และจะเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างได้อย่างไร
5. วิธีการเก็บข้อมูล ระบุวาจะใช ้วิธีการเก็บข้อมูลอย่างไร มีการใช้เครื่องมือ และทดสอบเครื่องมืออย่างไร เช่น จะใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์การสัมภาษณ์แบบมีแบบสอบถามการสังเกต หรือการ สนทนากลุ่ม เป็นต้น
6. การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการบอกแนวทางกว้างๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนเทคนิคทางสถิติที่เลอกมาใช ื ้เป็นการระบุและการประมวลผลขอม้ ูลจะทําอย่างไร จะใช้เครื่องมืออะไรใน การประมวลผลข้อมูล และในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือการทดสอบสมมตฐานจะท ิ ําอย่างไร จะใช้สถิตอะไรบ้างใน การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้สามารถตอบคําถามของการวิจัยที่ต้องการได้
ให้บริการรับเขียนวิจัย โดยทีมงานมืออาชีพที่มีประสบการณ์ ในการจัดทำ โครงร่างวิจัย โครงร่างวิทยานิพนธ์ รวมไปถึง การเขียนโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หลักสูตรในประเทศและต่างประเทศ มากกว่า 15 ปี่ สามารถ เขียนโครงร่างวิจัย ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ งานดี สามารถ่ายทอดเนื้อหาและองค์ประกอบสำคัญได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ทันเวลา
อ้างอิง
- รับทำวิจัย
- รับทำวิทยานิพนธ์
- รับทำวิจัย
- ฐานข้อมูลดุษฎีนิพนธ์
- วิจัยmba
- รายชื่อวิจัยป.เอก
- เทคนิคการเขียนแผนธุรกิจ
- เทคนิคแผนธุรกิจ
Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss บทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย