ศูนย์ให้บริการรับทำวิจัยกฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์กฎหมาย ปัญาพิเศษนิติศาสตร์ ค้นคว้าอิสระด้านกฎหมาย ในลักษณะของผู้ช่วยวิจัย สืบค้น เรียบเรียง ทำตารางสรุปสังเคราะห์ กฎหมายต่างประเทศ และ กฎหมายในประเทศ เพื่อให้การทำวิจัยกฎหมาย มีประสิทธิภาพ ราบรื่น และสำเร็จอย่างรวดเร็ว ทันเวลา
รับทำวิจัยกฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์กฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์นิติศาสตร์ ปัญหาพิเศษนิติศาสตร์ ให้บริการเป็นที่ปรึกษาและ ผู้ช่วยวิจัยและที่ปรึกษาวิจัยกฎหมาย วิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์ การทำค้นคว้าอิสระ กฎหมาย นิติศาสตร์ โดยผู้เชี่ยวชาญ มีความรู้ด้านกฎหมาย ประสบการณ์ในการเป็นที่ปรึกษาและผู้ช่วยวิจัยสำหรับการ รับทำวิจัยด้านกฎหมาย วิทยานิพนธ์กฎหมาย และดุษฎีนิพนธ์ สาขานิติศาสตร์ มากกว่า 15 ปี
รับเป็นที่ปรึกษาการทำปัญหาพิเศษ รับทำวิจัยกฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์กฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์นิติศาสตร์ บริการเป็นที่ปรึกษาด้าน การทำวิจัยกฎหมาย รับสืบค้น ข้อมูล ด้านกฎหมาย จากต่างประเทศ ทั้งระบบ COMMON LAW และ CIVIL LAW โดยนักกฎหมายที่มีพื้นฐานความรู้ ด้านกฎหมาย และ มีความรู้ความสามารถในการใช้ฐานข้อมูลภาษาอังกฤษ สำหรับการสืบค้น งานวิจัยกฎหมายในต่างประเทศ
บริการสืบค้น กฎหมาย พระราชบัญญัติ ฎีกา คำพิพากษา หมายเลขคดี ทั้งใน และ ต่างประเทศ โดยทีมนักวิจัยกฎหมายคุณภาพ ทำงานรวดเร็ว ครบถ้วน กฎหมายธุรกิจ กฎหมายปกครอง กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายต่างประเทศ กฎหมายธุรกิจระหว่างประเทศ
รับทำวิจัยกฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์กฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์นิติศาสตร์ วิจัยนิติศาสตร์ รับทำสารนิพนธ์กฎหมาย สารนิพนธ์นิติศาสตร์ ดุษฎีนิพนธ์นิติศาสตร์
โดยทั่วไปรูปแบบหรือกระบวน การทำงานวิจัยด้านกฎหมาย หรือ งานวิจัยนิติศาสตร์ จะมีองค์ประกอบสำคัญที่คล้ายกับการทำวิจัยทั่วไป ดังนี้
1. การทำรายงานและงานวิจัยทางกฎหมาย
1. การค้นคว้าวิจัย 2. การเขียนรายงาน
2. การคิดหัวข้อวิจัยกฎหมาย และการกำหนดโครงสร้างงานวิจัย
1. ผู้ทำวิจัยกฎหมาย จะต้องทราบหรือคิดในเบื้องต้นว่า ต้องการศึกษาปัญหาของกฎหมายหรือหัวข้อวิจัยกฎหมายเรื่องอะไร 2. การกำหนดโครงสร้างของเรื่องที่จะศึกษา 3. ตั้งคำถามการวิจัย 4. ทำการศึกษาค้นคว้าข้อมูลและ ข้อเท็จจริง, แนวคิด, หลักกฎหมาย, การใช้และการตีความหมายในประเด็นที่สนใจหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง
3 การค้นคว้าวิจัย การวิจัยเชิงเอกสาร
1. ทำการศึกษาจากเอกสารชั้นต้น กฎหมาย คำพิพากษา ข่าว รวมไปถึง เอกสารลำดับรอง ตำรา บทวิจารณ์ ความเห็นการวิจัยเชิงประจักษ์ 2. การเก็บข้อมูลภาคสนาม ในกรณีที่ต้องมีการทำวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีการเก็บสถิติ มีตัวเลข การทำแบบสำรวจ และในส่วน การวิจัยเชิงคุณภาพ เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก การฝังตัวในชุมชน การสังเกตการณ์ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยแบบมีส่วนร่วม focus group เป็นต้น
4 แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
เวปโซด์ของหน่วยงานต่างๆหน่วยงานทางกฎหมายของรัฐ เช่นรัฐสภาวิธีการเชื่อมโยงไปที่ link ที่ให้มาข้างบน – อยู่ในสถานะทั่วไป ที่ไม่ใช่ slide show ลากเม้าท์ไปที่ link แล้วคลิกขวา เลือกคำสั่ง open hyperlink ขณะที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เนท จะเปิดไปที่หน้าเวปไซด์องค์กรอิสระต่าง ๆ เช่น ปปช.ส่วนราชการ เช่น กระทรวงต่างๆ เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหน่วยงานอื่นๆ เช่น Pub-law.netหน่วยงานอื่นๆ เช่น UN
5. แหล่งข้อมูลในการค้นคว้าทางกฎหมาย
แหล่งข้อมูลที่สำคัญเพื่อการค้นคว้าทางกฎหมาย ที่สำคัญ ได้แก่ ตัวบทกฎหมายราชกิจจานุเบกษาสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คำวินิจฉัยของศาลศาลรัฐธรรมนูญศาลปกครองศาลฏีกา วารสารทางวิชาการวารสารกฎหมายจุฬาลงกรณ์วารสารกฎหมายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วารสารกฎหมายปกครองดุลพาหวารสารอัยการศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒน คณะนิติศาสตร์ห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์ ศาลยุติธรรม ตลอดจนข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงข่าว เหตุการณ์ (แยกแยะระหว่างข้อเท็จจริงกับความเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ )BBC News Aljazeera สำนักข่าวINNกรุงเทพธุรกิจสำนักข่าวประชาไท เป็นต้น
6. จริยธรรมงานวิจัย การวิจัยด้วยความจริง นำเสนอข้อมูลที่เที่ยงตรง
การทำวิจัยทุกชนิด รวมถึงการทำวิจัยด้านกฎหมาย นิติศาสตร์ จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการคุ้มครองแหล่งข้อมูล ไม่ทำให้ผู้ให้ข้อมูลเสียหาย ปกปิดชื่อ ผู้ให้ข้อมูลยินยอมให้นำข้อมูลของเขามาเผยแพร่ (informed consent) ต้องไม่ทำวิจัยที่เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ไม่เป็นจริง ปกปิดข้อมูลบางส่วน ตกแต่งข้อมูลบิดเบือนการนำเสนอการขโมยความคิดของคนอื่น Plagiarism ละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การละเมิด Plagiarism ซึ่งเป็นการใช้แนวคิดของคนอื่นโดยไม่มีการอ้างอิงแม้มีการอ้างอิงแล้ว ก็ต้องเขียนเป็นภาษาของตัวเอง paraphrase Self-plagiarism การนำงานของตัวเองมาเวียนนำเสนอซ้ำ ซึ่งในการทำวิจัยที่ถูกต้องนักวิจัยจะต้อง ปิด/เก็บต้นฉบับ ไว้ แล้วเขียนหรือเรียบเรียงตามความเข้าใจของนักวิจัยเอง เป็นภาษาของเราเอง ที่สำคัญคือการทำวิจัย
งานวิจัยกฎหมายจะมีอ้างอิงจำนวนมาก นักวิจัยจะต้องจดบันทึกตลอดระยะเวลาการทำวิจัย ว่าข้อความหรือตัวบทกฎหมายที่เขียนอยู่นั้นเอามาจากแหล่งอ้างอิงไหน หน้าอะไร ตรวจสอบกับต้นฉบับว่าใจความสำคัญที่เราเขียน ถูกต้องหรือไม่
รับทำวิจัยกฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์กฎหมาย รับทำวิทยานิพนธ์นิติศาสตร์
7.ให้ความสำคัญกับ ตรรกะ หรือ ความเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน ตรรกะ ความเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน ตัวอย่าง เช่น “ตะลึงพบศพ ทารก 1,00 ศพ ทำแท้งสยองส่งท้ายปี เป็นข่าวใหญ่ในรอบปี กับการพบศพทารก 1,500 ศพ ที่ถูกซุกไว้ในโกดังเก็บศพ ภายในวัดแห่งหนึ่ง ย่านรามคำแหง กรุงเทพมหานคร เหตุการณ์ที่ถูกค้นพบในครั้งนี้ เริ่มต้น จากการที่ตำรวจ ไปพบศพทารกทำแท้ง ถูกซ่อนไว้ในโกดังเก็บศพวัดแห่งนี้
โดยลักษณะ ช่องเก็บศพช่องแรกพบเพียง 20 ศพ ต่อมาภายหลังมีการขยายผลไปช่องเก็บศพใกล้ๆ กัน จึงเจออีกเป็นพันศพ หลังจากการตรวจสอบพยานหลักฐาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยสัปเหร่อวัดแห่งนี้ เป็นผู้ที่ดำเนินการเก็บซ่อนศพทารกทั้งหมด ดังกล่าว และได้ให้การยอมรับสารภาพ ว่า นำศพทารกเหล่านี้ทยอยเก็บไว้หลายปีแล้ว รับมาจากคลินิกทำแท้งเถื่อนหลายแห่ง ในย่านรามคำแหง และย่านใกล้เคียง ที่ไม่เผาทำลายเพราะเมรุเกิดชำรุดพังเสียหาย”
8.Self Editing เนื่องจากในการอ่านและแก้ไขงานวิจัยด้วยตัวเอง มีขั้นตอนที่สมควรตรวจสอบอย่างละเอียดจำนวนมาก โดยนักวิจัยควรเขียนอธิบายเรียงตามลำดับเหตุการณ์ โดยมีจุดมุ่งหมายอธิบายไปที่เป้าหมายเดียว (one main idea) ไม่ใช่การเขียนแบบจับจด ฟุ่มเฟือง หรือฟุ้งไปเรื่อย โดยที่มีการตอบคำถามครบถ้วนว่า ใคร/อะไร เมื่อไร ที่ไหน ซึ่งควรเขียนในรูปประโยคที่ชัดเจน กระชับเรามีเกริ่นนำ บอกเล่าเหตุการณ์ การวิเคราะห์ และสรุป และควรมีารเสนอแนะด้วย
9.การอ้างอิง Bibliography บรรณานุกรม Citation Footnote เชิงอรรถ
นักวิจัย หรือ นักศึกษา ที่กำลังทำวิจัยด้านกฎหมาย วิทยานิพนธ์ กฎหมาย งานค้นคว้าอิสระ และปัญหาพิเศษในสาขานิติศาสตร์ ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการอ้างอิงที่มาในการเขียนงานวิจัยทางกฎหมาย ที่สำคัญ เช่น Canadian guide to uniform legal citation = McGill Law Journal. McGill GuideBluebook : A uniform system of citation. Harvard Law Review Association.EndnoteIn note (ระบบ นามปี)Bibliography บรรณานุกรม
PROFESSIONALDATAS ให้บริการช่วยเหลือรับทำงานวิจัยด้านกฎหมาย ทั้งการทำงานวิจัยกฎหมายในระดับปริญญาเอก และปริญญาโท การทำวิทยานิพนธ์ กฎหมาย นิติศาสตร์ การทำค้นคว้าอิสระ การทำปัญหาพิเศษ การทำสารนิพนธ์ และรายงานวิจัยด้านกฎหมาย
โดยให้คำแนะนำปรึกษา ช่วยเหลือ โดยเฉพาะในส่วนที่ยุ่งยากและเป็นปัญหาอย่างยิ่งสำหรับการทำวิจัยด้านกฎหมาย คือ ในขั้นตอนของการสืบค้นกฎหมาย คำพิพากษา ต่างๆ ในต่างประเทศ ทั้งระบบ Common Law และ Civil Law โดยนักวิจัยกฎหมายที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการทำวิจัยกฎหมายมากกว่า 15 ปี
ทีมวิจัยกฎหมายมืออาชีพ ผ่านการสอบความรู้ด้านกฎหมาย ทั้งสนามเล็ก และสนามใหญ่ สามารถสอบถาม พูดคุย แนะนำ การทำวิจัยด้านกฎหมาย และ บริการช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษา การทำวิทยานิพนธ์ด้านกฎหมาย ดุษฎีนิพนธ์ด้านกฎหมาย สามารถสืบค้น แนวคิด ทฤษฎี พัฒนาการด้านกฎหมาย พระราชบัญญัติ ทั้งกฎหมายไทย และ กฎหมายต่างประเทศ